ความสัมพันธ์ของแรงจูงใจในการทา งานกับความผูกพันต่อองค์กร ของบุคลากรสา นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

ผู้แต่ง

  • ณัฐณิชา หิมทอง วิทยาลัยบัณฑิตศึกษาด้านการจัดการ มหาวิทยาลัยศรีปทุม / Graduate College of Management, Sripatum University, Thailand
  • ปิยากร หวังมหาพร วิทยาลัยบัณฑิตศึกษาด้านการจัดการ มหาวิทยาลัยศรีปทุม / Graduate College of Management, Sripatum University, Thailand

คำสำคัญ:

แรงจูงใจในการทำงาน, ความผูกพันต่อองค์กร, สา นักงานคณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของแรงจูงใจในการทางานกับความผูกพันต่อองค์กรของบุคลากร สา นักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน ตัวอย่างในการวิจัย คือ บุคลากรสา นักงานคณะกรรมการการศึกษา ขัน้ พื้นฐาน จานวน 171 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าสัมประสิทธิส์ หสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า แรงจูงใจ ในการทางาน ของบุคลากรสา นักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก (  = 3.69) เมื่อจาแนกเป็น รายด้าน พบว่า อยู่ในระดับมากทั้ง 2 ด้าน โดยเรียงลาดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ได้แก่ ด้านปัจ จัยจูงใจ (  = 3.90) และด้านปัจ จัยค้าจุน (  = 3.48) ความผูกพันต่อองค์กรของบุคลากรสา นักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐานโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก (  = 3.51) เมื่อจาแนกเป็นรายด้าน พบว่า อยู่ในระดับมากทุกด้าน โดย เรียงลา ดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ได้แก่ ด้านบรรทัดฐาน (  = 3.61) ด้านความรู้สึก (  = 3.55) และด้านการคง อยู่ ( = 3.38) สรุปได้ว่าแรงจูงใจในการทา งานมีความสัมพันธ์กับความผูกพันต่อองค์กร โดยภาพรวมอยู่ในระดับสูง อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 โดยแรงจูงใจในการทางาน ด้านปัจ จัยจูงใจ มีความผูกพันต่อองค์กรที่ค่า สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เท่ากับ 0.568 และแรงจูงใจในการทางาน ด้านปัจ จัยค้าจุน มีความผูกพันต่อองค์กรที่ค่า สัมประสิทธิส์ หสัมพันธ์ เท่ากับ 0.782

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-07-01

How to Cite

หิมทอง ณ., & หวังมหาพร ป. (2019). ความสัมพันธ์ของแรงจูงใจในการทา งานกับความผูกพันต่อองค์กร ของบุคลากรสา นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. สหวิทยาการและความยั่งยืนปริทรรศน์ไทย, 8(2), 144–152. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/JIRGS/article/view/243846