สังคีตลักษณ์เพลงลูกทุ่งของครูไพบูลย์ บุตรขัน

ผู้แต่ง

  • ภัสชา น้อยสอาด คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร / Faculty of Humanities and Social Sciences, Phranakhon Rajabhat University, Thailand
  • นพรัตน์ มัดสมบูรณ์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร / Faculty of Humanities and Social Sciences, Phranakhon Rajabhat University, Thailand

คำสำคัญ:

สังคีตลักษณ์, เพลงลูกทุ่ง, ไพบูลย์ บุตรขัน

บทคัดย่อ

การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสังคีตลักษณ์เพลงลูกทุ่งของครูไพบูลย์ บุตรขัน ใช้วิธีการเชิงมานุษยดนตรี วิทยา ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ โดยเก็บข้อมูลจากการศึกษารวบรวมเอกสารที่เกี่ยวข้อง และยืนยันข้อมูลด้วยการ สัมภาษณ์บุคคลข้อมูล ได้แก่ ครูเพลง ทายาท และผู้เชี่ยวชาญด้านดนตรี จา นวน 3 คน และวิเคราะห์สังคีตลักษณ์ของ บทเพลงตามหลักการวิเคราะห์ทางดนตรีตะวันตก ผลการวิจัยพบว่า บทเพลง 9 เพลงมีสองทานองหลักรูปแบบ ซอง ฟอร์ม (Song Form) คือ A กับ B และมักซ้า ทา นอง A โดยมีการเปลี่ยนคา ร้องทุกครัง้ อีก 1 เพลงคือเพลงมัส ยาหลงเหยื่อ มีสามทา นองหลักคือ A, B, และ C บันไดเสียงส่วนใหญ่เป็นชนิดเมเจอร์ ยกเว้นเพลงยมบาลเจ้าขาเป็นชนิด ไมเนอร์ พบการใช้มิกโซลิเดียนโมดในเพลงน้าตาเทียน มัสยาหลงเหยื่อ บุพเพสันนิวาส และการใช้บันไดเสียงชนิดไม เนอร์ฮาร์โมนิกในท่อนจบของเพลงมนต์รักลูกทุ่ง การเคลื่อนที่แนวทานองเป็นไปตามลาดับ มีการกระโดดข้ามขัน้ บ้าง จนถึงกว้างเป็นขัน้ คู่ 8 พิสัยของเสียงอยู่ระหว่าง 1 ช่วงเสียงกับอีกคู่ 5 เพอร์เฟค มีกระสวนจังหวะโบเลโร 6 เพลง ราวง 2 เพลง โซล 1 เพลง และบลูส์ 1 เพลง จังหวะทา นองสัมพันธ์กัน อัตราความเร็วตัง้ แต่ 58-118 ในอัตราจังหวะ 4/4 และมีอัตรา 2/4 แทรกเพียง 1 ห้องเพลงในเพลงชายสามโบสถ์ การดา เนินคอร์ดมีเพียงสองทา นองหลักที่มีการซ้า ทานองหลายครัง้ และเมื่อมีการซ้า ทา นองก็จะเปลี่ยนการดา เนินคอร์ด การจบประโยคเพลงส่วนมากเป็นเคเดนซ์แบบสมบูรณ์ และแบบ vi-I, iii-vi, vi-ii และ iii-I

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-06-01