การกำหนดนโยบายพลังงานของประเทศไทย

ผู้แต่ง

  • จิราพร หาญกลับ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคาแหง / Faculty of Political Science, Ramkhamhaeng University, Thailand
  • อุทัย เลาหวิเชียร คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคาแหง / Faculty of Political Science, Ramkhamhaeng University, Thailand

คำสำคัญ:

การกำหนดนโยบาย, นโยบายพลังงาน, ประเทศไทย

บทคัดย่อ

การศึกษาวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการกาหนดนโยบายพลังงานของประเทศไทย ศึกษาถึงบทบาท ของตัวแสดงในกระบวนการกาหนดนโยบายพลังงานของประเทศไทย และเพื่อศึกษาปัญหาอุปสรรคในกระบวนการ กาหนดนโยบายพลังงานของประเทศไทย แนวทางในการแก้ไขปัญหาและข้อเสนอแนะ ใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ เก็บข้อมูลด้วยวิธีการสัมภาษณ์เจาะลึกจากผู้ให้ข้อมูลสาคัญ 6 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มนักการเมือง กลุ่มข้าราชการ กลุ่ม รัฐวิสาหกิจ กลุ่มเอกชน กลุ่มภาคประชาชน กลุ่มนักวิชาการด้านพลังงานโดยประยุกต์ใช้แนวคิดการเข้าสู่วาระ นโยบายของคิงดอน เพื่อนาไปสู่การกาหนดนโยบายพลังงานของประเทศไทย ผลการวิจัยพบว่า กระแสปัญหา กระแสการเมือง และกระแสนโยบาย ทาให้ปัญหาเข้าสู่วาระนโยบาย โดยกระแสปัญหา ซึ่งเป็นปัญหามาจากปัญหา วิกฤตพลังงานโลก กระแสการเมือง เป็นเกมการต่อรองของกลุ่มผลประโยชน์การต่อรองระหว่างกลุ่มของตัวแสดงที่ สาคัญ กระแสนโยบาย เป็นข้อเรียกร้องของกลุ่มผลประโยชน์ ความเข้มข้น ความรุนแรงของปัญหา และการแข่งขัน ของกลุ่มผลประโยชน์ ในการกาหนดนโยบาย รวมถึงกระแสการยอมรับของสาธารณะ ผลการวิจัยสรุปได้ว่า ตัว แสดงในการกาหนดนโยบายพลังงานหรือผู้ผลักดันนโยบาย คือ นายกรัฐมนตรี กลุ่มนักการเมือง และกลุ่ม ข้าราชการ ตามตัวแบบชนชัน้ นา เป็นผู้นาทางอา นาจ เป็นผู้ตัดสินใจในกระบวนการทางนโยบาย ข้อเสนอแนะเชิง นโยบาย ภาครัฐควรให้ความสาคัญกับการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกภาคส่วนในการกาหนดนโยบาย พลังงานของประเทศไทย

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-06-01