แนวคิด และกระบวนทัศน์ในการกาหนดขนาดตัวอย่างด้วย G*Power

ผู้แต่ง

  • สิทธิพรร์ สุนทร คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม / Faculty of Political Science and Public Administration, Rajabhat Mahasarakam University, Thailand
  • วัชรินทร์ สุทธิศัย คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม / Faculty of Political Science and Public Administration, Rajabhat Mahasarakam University, Thailand
  • พงษ์ศักดิ์ ซิมมอนด์ส คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม / Faculty of Political Science and Public Administration, Rajabhat Mahasarakam University, Thailand
  • รัชนิดา ไสยรส สา นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจังหวัดหนองคาย เขต 2, The Office of Nongkai Primary Educational Service Area 1, Thailand
  • ภัณฑิลา น้อยเจริญ หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย หนองคาย / Public Administration Program, Mahachulalongkornrajavidyalaya University Nonhkai, Thailand

คำสำคัญ:

กระบวนทัศน์, ขนาดตัวอย่าง, G*Power

บทคัดย่อ

จากการที่วงการวิจัยและการศึกษาในประเทศไทย ได้มีความนิยมในการใช้สูตรคานวณขนาดตัวอย่างของ ทาโร ยามา เน่ ตลอดจนตารางคา นวณขนาดตัวอย่างสา เร็จรูปอื่นๆ ทัง้ ที่มาตรวัดในการวิจัยไม่ใช่มาตรวัดแบบที่มีแค่สองตัวเลือก อีกทัง้ ยังนิยมใช้สูตรที่แปลงมาจากสูตรในการหาขนาดตัวอย่างที่มาตรวัดมีสองตัวเลือก ซึ่งไม่ใช่สูตรที่ใช้กับตัวแปร มาตรวัดต่อเนื่อง บทความนี้ จึงมุ่งนาเสนอแนวคิด และกระบวนทัศน์ ในการกาหนดขนาดตัวอย่างด้วย G*Power ซึ่ง เป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์สาเร็จรูปสาหรับการกาหนดขนาดตัวอย่างของการวิจัยเชิงปริมาณ โดยผู้เขียนมุ่งนาเสนอถึง แนวคิดซึ่งเป็นปรัชญาพื้นฐานเกี่ยวกับการกา หนดขนาดตัวอย่างในการวิจัยเชิงปริมาณ โดยการใช้ตารางสา เร็จรูป และ การใช้สูตรคานวณขนาดตัวอย่าง ซึ่งชี้ให้เห็นถึงฐานคติ ข้อจากัด จุดอ่อน และวิธีการใช้สูตรคานวณขนาดตัวอย่างซึ่ง เป็นที่นิยมในประเทศไทยที่ถูกต้อง ตลอดจนการนาเสนอถึง แนวคิดพื้นฐาน จุดแข็ง และวิธีการใช้โปรแกรมคานวณ ขนาดตัวอย่าง G*Power ตลอดจนให้การแนะนาแหล่งดาวน์โหลดโปรแกรมคานวณขนาดตัวอย่าง G*Power อันจะ นาไปสู่ความเข้าใจถึงข้อจากัดของสูตรและตารางสาเร็จรูปเพื่อกาหนดขนาดตัวอย่าง รวมถึงแนวคิด และวิธีการทาง สถิติในการกาหนดขนาดตัวอย่างด้วยโปรแกรม G*Power โดยมุ่งหวังให้นักวิจัยและนักศึกษาสามารถเลือกใช้วิธีการ กา หนดขนาดตัวอย่างที่ถูกต้องและทันสมัยเป็นสากล

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-06-01