แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์และการรับรู้การสนับสนุนขององค์กรที่มีผลต่อพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีของบุคลากร: กรณีศึกษา บริษัท บริดจสโตน จำกัด

ผู้แต่ง

  • กฤษดา เชียรวัฒนสุข คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี / Faculty of Business Administration, Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Thailand
  • สุรพร อ่อนพุทธา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี / Faculty of Business Administration, Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Thailand
  • ธัญญลักษณ์ เทพแพง คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี / Faculty of Business Administration, Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Thailand

คำสำคัญ:

แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์, การรับรู้การสนับสนุนขององค์กร, การเป็นสมาชิกที่ดีของบุคลากร

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแรงจูงใจใฝ่ส ัมฤทธิแ์ ละการรับรู้การสนับสนุนขององค์กรที่มีผลต่อพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีของบุคลากร โดยประชากรที่ใช้ศึกษา คือ พนักงานบริษัทในกลุ่มบริษัท บริดจสโตน จากัด จานวน 350 คนโดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลกลุ่มตัวอย่าง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลประกอบด้วยสถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติที่ใช้ในการทดสอบสมมติฐาน คือ การทดสอบค่าเฉลี่ย การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ ผลการศึกษาพบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุระหว่าง 41 ปีขึ้นไป มีสถานภาพสมรส/อยู่ด้วยกัน มีการศึกษาระดับต่ากว่าปริญญาตรี มีรายได้ต่อเดือน 20,001-30,000 บาท มีตาแหน่งพนักงานฝ่ายการผลิต และมีประสบการณ์ในการทางานมากกว่า 10 ปี โดยมีความคิดเห็นเกี่ยวกับแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ ์การรับรู้การสนับสนุนขององค์กร และพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีของบุคลากรอยู่ในระดับมาก ผลการวิเคราะห์สมการถดถอยพบว่า แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิด์ ้านความสา เร็จใน การทางาน ด้านการยอมรับ และด้านความรับผิดชอบ และการรับรู้การสนับสนุนองค์กรด้านผลตอบแทนและสวัสดิการด้านความมัน่ คงในการทางาน และด้านจิตวิทยาทางสังคมมีผลต่อพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กรอย่างมีนัยสา คัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-12-16

How to Cite

เชียรวัฒนสุข ก., อ่อนพุทธา ส., & เทพแพง ธ. (2019). แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์และการรับรู้การสนับสนุนขององค์กรที่มีผลต่อพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีของบุคลากร: กรณีศึกษา บริษัท บริดจสโตน จำกัด. สหวิทยาการและความยั่งยืนปริทรรศน์ไทย, 7(2), 79–90. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/JIRGS/article/view/229676