ความคิดเห็นของเจ้าหน้าที่ราชทัณฑ์ที่มีต่อการดำเนินการพัฒนาพฤตินิสัย ของผู้ต้องขังในเรือนจำการศึกษา

ผู้แต่ง

  • มุขรินทร์ เพลิงน้อย คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ / Faculty of Social Sciences, Kasetsart University, Thailand
  • ลลิตา นิพิฐประศาสน์ สุนทรวิภาต คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ / Faculty of Social Sciences, Kasetsart University, Thailand

คำสำคัญ:

ความคิดเห็น, พัฒนาพฤตินิสัย, เรือนจำการศึกษา

บทคัดย่อ

การวิจัยครัง้ นี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาระดับความคิดเห็นของเจ้าหน้าที่ราชทัณฑ์ที่มีต่อการดาเนินการแก้ไขฟื้นฟูเฉพาะทางด้านการศึกษาของผู้ต้องขัง การจัดการศึกษาสายสามัญของผู้ต้องขังกรมราชทัณฑ์ 2) เพื่อศึกษาเปรียบเทียบความคิดเห็นที่มีต่อการดา เนินการพัฒนาพฤตินิสัยของผู้ต้องขังในเรือนจา การศึกษาจา แนกตามภูมิหลังทางสังคม และ 3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความรู้เกี่ยวกับการจัดการด้านการศึกษาสายสามัญของเรือนจาการศึกษากับความคิดเห็นของเจ้าหน้าที่ราชทัณฑ์ที่มีต่อการดาเนินการพัฒนาพฤตินิสัยของผู้ต้องขังในเรือ นจาการศึกษากลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครัง้ นี้ ได้แก่ เจ้าหน้าที่ราชทัณฑ์ในเรือนจาและทัณฑสถานภาคกลาง 12 แห่งจานวน 297 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และค่าสัมประสิทธิส์ หสัมพันธ์เพียร์สันโดยกาหนดนัยสาคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 และประมวลผลข้อมูลด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สาเร็จรูปทางสถิติผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีความรู้เกี่ยวกับการจัดการด้านการศึกษาสายสามัญในเรือนจา การศึกษาของเจ้าหน้าที่ราชทัณฑ์ อยู่ในระดับปานกลาง ( X =0.63) ระดับความคิดเห็นของเจ้าหน้าที่ราชทัณฑ์ที่มีต่อการดา เนินการพัฒนาพฤตินิสัยของผู้ต้องขังในเรือนจาการศึกษาโดยเห็นด้วยอยู่ในระดับมาก ( X =3.84) ผลการทดสอบสมมติฐานพบว่าเจ้าหน้าที่มีระดับการศึกษาแตกต่างกันมีความคิดเห็นต่อการดาเนินการพัฒนาพฤตินิสัยของผู้ต้องขังในเรือนจาการศึกษาแตกต่างกันอย่างมีนัยสา คัญทางสถิติที่ระดับ .05 แต่อายุ อายุราชการ ประสบการณ์การทางานพัฒนาพฤตินิสัยทางด้านการศึกษา และส่วนงานที่สังกัดแตกต่างกันมีความคิดเห็นต่อการดาเนินการพัฒนาพฤตินิสัยของผู้ต้องขังในเรือนจาการศึกษาไม่แตกต่างกัน ผลต่อความรู้การจัดการด้านการศึกษาสายสามัญในเรือนจาการศึกษามีความสัมพันธ์ในทางบวกกับความคิดเห็นที่มีต่อการดา เนินการพัฒนาพฤตินิสัยของผู้ต้องขังในเรือนจาการศึกษา อย่างมนี ัยสา คัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยมีความสัมพันธ์อยู่ในระดับปานกลาง

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-12-15