ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกลงทุนในกองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพ หรือกองทุนรวมหุ้นระยะยาวของพนักงานธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) เขตภาคกลาง

ผู้แต่ง

  • สุธิชา แก้วเกตุ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ / Faculty of Social Sciences, Kasetsart University, Thailand
  • ลลิตา นิพิฐประศาสน์ สุนทรวิภาต คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ / Faculty of Social Sciences, Kasetsart University, Thailand

คำสำคัญ:

การตัดสินใจเลือกลงทุน, กองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพ, กองทุนรวมหุ้นระยะยาว

บทคัดย่อ

การวิจัยครัง้ นี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ระดับการตัดสินใจและพฤติกรรมการลงทุนในกองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพหรือกองทุนรวมหุ้นระยะยาวของ บลจ.บัวหลวงของพนักงานธนาคารกรุงเทพ จากัด (มหาชน) เขตภาคกลาง และ 2)เปรียบเทียบปัจ จัยส่วนบุคคลที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกลงทุนในกองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครัง้ นี้ คือ พนักงานธนาคารกรุงเทพ จา กัด (มหาชน) ในเขตภาคกลาง ที่เคยลงทุนในกองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพ(RMF) จานวน 360 คน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการวิจัย ข้อมูลที่ได้จากการตอบแบบสอบถามของประชากรนามาประมวลผลด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สา เร็จรูป สา หรับค่าสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลประกอบด้วยค่าสถิติร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่า t-test one-way ANOVA การเปรียบเทียบความแตกต่างเป็นรายคู่ด้วยวิธี LSD และ Correlation โดยกา หนดค่านัยสา คัญทางสถิติที่ระดับ .05 ผลการวิจัยพบว่า การตัดสินใจลงทุนด้านภาพรวมกลุ่มตัวอย่างมีความคิดเห็นอยู่ในระดับปานกลาง (ค่าเฉลี่ย 3.48) มีพฤติกรรมการลงทุนในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง (ค่าเฉลี่ย 3.37) สาหรับปัจจัยส่วนบุคคลได้แก่ เพศ อายุ สถานภาพการสมรส ระดับการศึกษา รายได้ต่อเดือน และฐานภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาที่เสียสูงสุดต่างกันมีระดับการตัดสินใจเลือกลงทุนในกองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพ หรือกองทุนรวมหุ้นระยะยาว ของ บลจ.บัวหลวง ของพนักงานธนาคารกรุงเทพ จากัด (มหาชน) เขตภาคกลาง แตกต่างกัน

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-12-15

How to Cite

แก้วเกตุ ส., & สุนทรวิภาต ล. น. (2019). ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกลงทุนในกองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพ หรือกองทุนรวมหุ้นระยะยาวของพนักงานธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) เขตภาคกลาง. สหวิทยาการและความยั่งยืนปริทรรศน์ไทย, 6(1), 107–117. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/JIRGS/article/view/229461