รูปแบบการกำกับดูแลธุรกิจขายตรงเพื่อคุ้มครองผู้บริโภค

ผู้แต่ง

  • ภูเชษฐ์ เผดิมปราชญ์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม / Sripatum University, Thailand

คำสำคัญ:

ธุรกิจขายตรง, รูปแบบการกำกับดูแล, การคุ้มครองผู้บริโภค

บทคัดย่อ

การศึกษาวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) มาตรการการกากับดูแลธุรกิจขายตรงเพื่อคุ้มครองผู้บริโภค 2) ปัญหาและผลกระทบที่เกิดจากมาตรการการกากับดูแลธุรกิจขายตรงเพื่อคุ้มครองผู้บริโภค 3) กาหนดรูปแบบการกากับดูแลธุรกิจขายตรงเพื่อคุ้มครองผู้บริโภค 4) ความสัมพันธ์ระหว่างมาตรการการกากับดูแลธุรกิจขายตรงกับรูปแบบธุรกิจขายตรง 5) มาตรการการกากับดูแลธุรกิจขายตรงที่ส่งผลต่อรูปแบบธุรกิจขายตรง ตัวอย่างได้แก่ สมาชิกบริษัทขายตรงในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร และปริมณฑล เจ้าหน้าที่รัฐที่เกี่ยวข้อง สา นักงานค้มุ ครองผู้บริโภค ผู้นาและผู้บริหารในบริษัทขายตรง ผลการวิจัย พบว่า มาตรการการกากับดูแลธุรกิจขายตรง ด้านความเข้มงวดในการบังคับใช้กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค และด้านการประชาสัมพันธ์จากภาครัฐโดยภาพรวม ตัวอย่างมีความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก ปัญหาและผลกระทบที่เกิดจากมาตรการการกากับดูแลธุรกิจขายตรง โดยภาพรวม ตัวอย่างมีความคิดเห็นอยู่ในระดับมากรูปแบบการกากับดูแลธุรกิจขายตรง ควรมีความร่วมมือกันระหว่าง 6 หน่วยงาน ได้แก่ สานักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค สานักงานตรวจเงินแผ่นดิน สานักงานตารวจแห่งชาติ สานักงานเศรษฐกิจการคลัง สานักงานป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน และกรมสอบสวนคดีพิเศษ เพื่อบูรณาการแก้ไขปัญ หา และกากับดูแล โดยจัดตั้งเป็นหน่วยงานขึ้นโดยเฉพาะ ผลการหาค่าความสัมพันธ์ของ Pearson พบว่า มาตรการการกากับดูแลธุรกิจขายตรง ด้านความเข้มงวดในการบังคับใช้กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค ด้านการประชาสัมพันธ์จากภาครัฐ และปัญหาและผลกระทบที่เกิดจากมาตรการการกา กับดูแลธุรกิจขายตรง มีความสัมพันธ์กับรูปแบบธุรกิจขายตรง ผลการวิเคราะห์การถดถอยเชิงเส้นแบบพหุ จะเห็นว่า ปัจจัยทัง้ สอง มีความสัมพันธ์กับรูปแบบธุรกิจขายตรง ในระดับต่า เมื่อพิจารณาค่าสัมประสิทธิ์การถดถอยของตัวพยากรณ์ พบว่า มีเพียงปัจจัยมาตรการการกากับดูแลธุรกิจขายตรงเท่านั้นที่ไม่สามารถพยากรณ์รูปแบบธุรกิจขายตรงได้ ส่วนปัจ จัยปัญหาและผลกระทบที่เกิดจากมาตรการ การกากับดูแลธุรกิจขายตรงสามารถพยากรณ์รูปแบบธุรกิจขายตรงได้

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-12-11