วิธีการสืบสานประเพณีผูกเสี่ยวของชุมชนบ้านหัวขัว ตำบลเปือยน้อย อำเภอเปือยน้อย จังหวัดขอนแก่น

ผู้แต่ง

  • ไตรรัตน์ แงดสันเทียะ วิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น

คำสำคัญ:

วิธีการสืบสาน, ประเพณีผูกเสี่ยว, ชุมชนบ้านหัวขัว

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิธีการสืบสานประเพณีผูกเสี่ยวของชุมชนบ้านหัวขัว ตาบลเปือยน้อย อาเภอเปือยน้อย จังหวัดขอนแก่น เพื่อนาข้อค้นพบที่ได้ไปกา หนดเป็นแนวทางในการส่งเสริมการสืบสานประเพณีผูกเสี่ยว ให้เกิดความยัง่ ยืนต่อไป ผู้วิจัยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพโดยการสัมภาษณ์เชิงลึก จากกลุ่มผู้ให้ข้อมูลที่สา คัญ คือ ปราชญ์ชาวบ้านผู้มีองค์ความรู้ในเรื่องประเพณีผูกเสี่ยว จา นวน 20 ราย และนาข้อมูลที่ได้มาทา การจัดหมวดหมู่ข้อมูล เพื่อทาการวิเคราะห์โดยวิธีการพรรณนา ผลการศึกษาพบว่าประเพณีผูกเสี่ยวมีมาตั้งแต่สมัยสุโขทัย มีการเขียนไว้ในประวัติศาสตร์ คา ว่าเสี่ยว หมายถึง สหาย เพื่อนแท้ที่ตายแทนกันได้ คู่เสี่ยวจะมีความรักความผูกพันกันเหมือนเป็น พี่น้องท้องแม่เดียวกัน การปฏิบัติตัวระหว่างญาติพี่น้องของคู่เสี่ยวเปรียบเสมือนญาติกัน บรรพบุรุษจะใช้วิธีการบอกสอนต่อๆ มาซึ่งจะปฏิบัติเป็นแบบอย่างและมีการปฏิบัติที่เป็นธรรมเนียมต่อกันของคู่เสี่ยว มีการทากิจกรรมร่วมกันระหว่างคู่เสี่ยวอยู่ตลอด การจัดงานมีการตัง้ คณะทา งานเพื่อจัดงานประเพณีผูกเสี่ยวประจาปีโดยดึงคนในชุมชนให้ เข้ามาร่วมในงานประเพณีผูกเสี่ยว ต้องทา ให้ประเพณีผูกเสี่ยวมีความศักดิส์ ิทธิม์ ากขึ้น คนในชุมชนมีความรักใคร่กัน สามัคคี ร่วมแรงร่วมใจกัน ช่วยกันพัฒนาชุมชน โดยมีสถาบันครอบครัวเป็นจุดเรมิ่ ต้นในการสร้างให้มีจิตสา นึก คนที่เป็นเสี่ยวกันต้องทา ตัวให้เป็นแบบอย่างที่ดีและเข้าใจความหมายของคา ว่าเสี่ยวคือเพื่อนตายตามที่ผู้เฒ่าผู้แก่ พ่อแม่ คอยบอกสอนและทา ให้ดูเป็นตัวอย่าง แสดงให้เห็นถึงประโยชน์ของการมีเสี่ยว หน่วยงานภาครัฐและเอกชนต้องเข้ามาสนับสนุนในการสร้างพิพิธภัณฑ์ โดยมีการจัดทา เป็นเครือข่ายที่ชัดเจนและทุกคนในชุมชนให้การสนับสนุน เพื่อให้มีการผูกเสี่ยว

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-12-11