รูปแบบการสอนเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตสา หรับนักเรียน ชัน้ มัธยมศึกษา ในโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา

ผู้แต่ง

  • ศักดิ์นคร สีหอแก้ว โรงเรียนวัดจันทร์ตะวันออก สา นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพิษณุโลก เขต 1

คำสำคัญ:

รูปแบบการสอน, ทักษะชีวิต, โรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา

บทคัดย่อ

การวิจัยครัง้ นี้มีจุดมุ่งหมาย 1) เพื่อศึกษาข้อมูลพื้นฐานทักษะชีวิตนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษา 2) เพื่อสร้างและหาคุณภาพรูปแบบการสอนเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตสาหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษา 3) เพื่อทดลองใช้รูปแบบการสอนเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตสาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา 4) เพื่อประเมินผลการทดลองใช้รูปแบบการสอนเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตสา หรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาในโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา ตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 3โรงเรียนวัดจันทร์ตะวันออก สังกัดสา นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพิษณุโลก เขต 1 จานวน 30 คน เลือกตัวอย่างแบบเจาะจง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ร้อยละ และสถิติทดสอบทีผลการวิจัย พบว่า 1) นักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาในโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษามีการปฏิบัติทักษะชีวิอยู่ใน ระดับน้อย ครูผู้สอนและนักเรียนมีความต้องการพัฒนาทักษะชีวิตอยู่ในระดับมาก 2) รูปแบบการสอนเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตมีลักษณะเป็นแบบแผนจาลองที่เป็นเอกสารประกอบด้วย คาชี้แจง หลักการแนวคิดทฤษฎี โครงสร้างเนื้อหา มาตรฐาน/ตัวชี้วัด หน่วยการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนการสอน การวัดประเมินผล มีความสอดคล้องเชิงโครงสร้าง มีคุณภาพด้านความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก 3) ผลการทดลองใช้รูปแบบการสอนเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตสาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาในโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษามีผลการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยรวมอยู่ในระดับดีมาก และ4) ผลการประเมินการทดลองใช้รูปแบบการสอนเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตสา หรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษา ในโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา พบว่า นักเรียนมีทักษะชีวิตหลังการทดลองสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ.05 และผลการประเมินทักษะชีวิตของนักเรียนหลังการทดลองกับระยะติดตามผลไม่แตกต่างกัน

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-12-10

How to Cite

สีหอแก้ว ศ. (2019). รูปแบบการสอนเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตสา หรับนักเรียน ชัน้ มัธยมศึกษา ในโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา. สหวิทยาการและความยั่งยืนปริทรรศน์ไทย, 4(2), 42–48. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/JIRGS/article/view/228557