โครงการการดูแลสตรีตัง้ ครรภ์แนวใหม่ตามข้อแนะนาองค์การอนามัยโลก

ผู้แต่ง

  • จินตนา พัฒนาพงศ์ธร สานักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย
  • นงลักษณ์ รุ่งทรัพย์สิน สานักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย

คำสำคัญ:

สุขภาพของแม่และเด็ก, การดูแลสตรีตัง้ ครรภ์, องค์การอนามัยโลก

บทคัดย่อ

ความสาคัญ: ปัญหาด้านสุขภาพของแม่และเด็กพบหลายประเด็น เช่น หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ ครั้งแรกช้าและ มา
ฝากครรภ์ไม่ครบตามเกณฑ์ มีภาวะโลหิตจาง และมีปริมาณไอโอดีนที่มีค่าน้อยกว่ามาตรฐาน (150 μg/L) ทารก แรก
เกิดมีน้าหนักน้อยกว่า 2,5000 กรัม สูงกว่าเป้าหมาย กรมอนามัย จึงได้ดา เนินงานโครงการดูแลสตรีตั้งครรภ์ แนวใหม่
ตามข้อแนะนาองค์การอนามัยโลก ในโรงพยาบาลของรัฐทุกแห่งของจังหวัดเป้าหมายที่สมัครใจเข้าร่วมโครงการ โดยมี
วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษากระบวนการดา เนินงานโครงการฯและความเป็นไปได้การขยายพื้นที่ดา เนินงานโครงการฯ โดย
ประเมินจากผลผลิต ผลลัพธ์ ปัญหา อุปสรรค ทัศนคติและความพึงพอใจของผู้ให้บริการ
วิธีการศึกษา เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการ คัดเลือกพื้นที่แบบเจาะจงตามความสมัครใจของจังหวัดภาคละอย่างน้อย 1
จังหวัด รวม 5 จังหวัด คือ เชียงราย มหาสารคาม กาฬสินธุ์ ลพบุรี และนครศรีธรรมราช ขัน้ ตอนดาเนินงาน มี 3
ขัน้ ตอน 1) ขัน้ เตรียมการเป็นการทาความเข้าใจโครงการฯแก่ผู้บริหารและผู้รับผิดชอบโครงการระดับจังหวัด 2) ขัน้
ดาเนินงาน จัดอบรมผู้ให้บริการระดับจังหวัดและโรงพยาบาลประจาจังหวัด โรงพยาบาลอาเภอ โอนงบประมาณซื้อ
เวชภัณฑ์ และอุปกรณ์ และคู่มือปฏิบัติงานฯ การติดตามงาน 3) ขัน้ ประเมินผลโครงการ ประเมินจากผลผลิต ผลลัพธ์
ปัญหา อุปสรรค ทัศนคติและความพึงพอใจของผู้ให้บริการ การเก็บข้อมูลจากเอกสารโครงการและรายงานการประชุม
ของกลุ่มอนามัยแม่และเด็กเพื่อการวิเคราะห์เนื้อหากระบวนการดาเนินงานโครงการ ส่วนการวิเคราะห์ความเป็นไปได้
ในการขยายผลโครงการฯ โดยการสมุ่ ตัวอย่างแบบชัน้ ภูมิ จากโซนการปฏิบัติงานของจังหวัด กา หนดโรงพยาบาลที่ทา
หน้าที่เป็นแม่ข่าย 1 แห่ง และสุ่มโรงพยาบาลอื่นๆ อีก 1-2 แห่ง ได้โรงพยาบาลในจังหวัดเป้าหมายจานวน 34 แห่ง
เก็บข้อมูลการสัมภาษณ์เชิงลึกหัวหน้าคลินิกฝากครรภ์และสนทนากลุ่มผู้ปฏิบัติงานฯ เกี่ยวกับปัญหา อุปสรรค ความ
พึงพอใจ ผู้ให้บริการ ผลผลิตโดยการสัมภาษณ์ผู้รับบริการ ความพึงพอใจต่อระบบดูแลสตรีมีครรภ์แนวใหม่ฯ และ
ความครบถ้วนบริการที่ได้รับ ส่วนข้อมูลผลลัพธ์เก็บข้อมูลจากระบบรายงานที่จังหวัดจัดเก็บไว้ วิเคราะห์ข้อ มูล
เปรียบเทียบผลระหว่างการประเมินครัง้ ที่ 1 และครัง้ ที่ 2 โดยใช้สถิติ Mann-Whitney Test, Z-Test และ Chi Square
Test และการวิเคราะห์เนื้อหา
ผลการศึกษา: กระบวนการดาเนินงานมี 3 ขัน้ ตอน 1) ขัน้ เตรียมการเพื่อทาความเข้าใจเกี่ยวกับโครงการฯ กับ
ผู้บริหาร คือ นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด และผู้อานวยการโรงพยาบาลศูนย์ 2) ขัน้ ตอนดาเนินงาน คือ การพัฒนา
ความรู้ ทักษะของผู้ปฏิบัติงาน การสนับสนุนเวชภัณฑ์ และอุปกรณ์ให้เพียงพอ การติดตามงาน 3) ขัน้ ตอนประเมินผล
โครงการ ประเมินผลผลิต ผลลัพธ์ ปัญหา อุปสรรค ทัศนคติและความพึงพอใจของผู้ให้บริการพบว่า ผลผลิต คือ ความ
ครบถ้วนของบริการที่ผู้รับบริการได้รับในเกือบทุกเรื่องมีสัดส่วนสูงขึ้น และมีความพึงพอใจของต่อบริการที่ได้รับไม่
พบว่ามีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ผลลัพธ์ด้านเด็กและด้านมารดาไม่มีความแตกต่างระหว่าง ช่วงก่อน

เริ่ม และช่วงหลังโครงการ ปัญหาอุปสรรคสามารถแก้ไขได้เบ็ดเสร็จโดยหน่วยบริการสาธารณสุขในพื้นที่ สูติแพทย์มี
ทัศนคติเชิงบวก และไม่มีผู้ที่ไม่เห็นด้วย จึงมีความเป็นไปได้สูงในการขยายพื้นที่ดา เนินงานให้ครอบคลุม ในทุกจังหวัด

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-12-10