กลวิธีการโน้มน้าวใจในปริเฉทปาฐกถาธรรม พระพรหมมังคลาจารย์ (หลวงพ่อปัญญานันทภิกขุ)

ผู้แต่ง

  • วิระวัลย์ ดีเลิศ อาจารย์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี

คำสำคัญ:

กลวิธีการโน้มน้าวใจ, ปริเฉทปาฐกถาธรรม, พระพรหมมังคลาจารย์ (หลวงพ่อปัญญานันทภิกขุ)

บทคัดย่อ

การวิจัยเรื่อง กลวิธีการโน้มน้าวใจในปริเฉทปาฐกถาธรรม พระพรหมมังคลาจารย์ (หลวงพ่อปัญญานันทภิกขุ) เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ได้แบ่งผลการวิจัยออกเป็น 2 ส่วน คือ 1) องค์ประกอบในปริเฉทปาฐกถาธรรม พบว่าชื่อเรื่องที่มีคาศัพท์เกี่ยวกับพระพุทธศาสนา บทนาที่ขึ้นต้นด้วยการเกริ่นถึงความเป็นมาหรือสาเหตุของเรื่อง เนื้อเรื่องพบว่าที่กล่าวถึงสาระ ประเด็นสาคัญไว้ตอนต้นเรื่อง และบทสรุปที่แสดงทรรศนะ ทั้ง 4 องค์ประกอบนี้ พบว่ามีมากที่สุด 2) กลวิธีการโน้มน้าวใจในปริเฉทปาฐกถาธรรมมีทั้งหมด 3 วิธี พบว่ากลวิธีประเภทที่ 3 คือกลวิธีการโน้มน้าวที่ใช้การอ้างพุทธศาสนาและพุทธภาษิต พบว่ามีมากเพื่อช่วยจูงใจและให้ผู้รับสารสนใจ

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-11-18

How to Cite

ดีเลิศ ว. (2019). กลวิธีการโน้มน้าวใจในปริเฉทปาฐกถาธรรม พระพรหมมังคลาจารย์ (หลวงพ่อปัญญานันทภิกขุ). สหวิทยาการและความยั่งยืนปริทรรศน์ไทย, 3(1), 89–107. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/JIRGS/article/view/225678