การบริหารจัดการสภาวะน้าท่วม ขององค์การบริหารส่วนต้าบลน้ารอบ อ้าเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี

ผู้แต่ง

  • ออนอุสาห์ พลภักดี นักศึกษา หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต วิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น มหาวิทยาลัย ขอนแก่น

คำสำคัญ:

การบริหารจัดการน้้าท่วม, องค์การบริหารส่วนต้าบล

บทคัดย่อ

การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงสถานการณ์สภาวะน้้าท่วม รวมทั้งเพื่อศึกษาถึงกิจกรรม กระบวนการของชุมชน ท้องถิ่นของต้าบลน้้ารอบ ในการรองรับสภาวะน้้าท่วมในต้าบลน้้ารอบ อ้าเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี ผลการศึกษาพบว่า การบริหารจัดการสภาวะน้้าท่วมขององค์การบริหารส่วนต้าบลน้้ารอบ รวมถึงกระบวนการของชุมชนท้องถิ่นของต้าบลน้้ารอบ ในการรองรับสภาวะน้้าท่วม ได้แก่ ขั้นการเตือนภัย ขั้นการสงเคราะห์ชาวบ้าน ขั้นการระบายน้้า ขั้นการเยียวยาและ/หรือฟื้นฟู ดังนี้ 1) ขั้นการเตือนภัย ในรอบปีที่ผ่านมาพบว่า องค์การบริหารส่วนต้าบลน้้ารอบมีการเตือนภัยไปยังหอกระจายข่าวประจ้าหมู่บ้าน เสียงตามสาย เกี่ยวกับข่าวพยากรณ์อากาศให้ประชาชนทราบอย่างทันท่วงทีและวิทยุสื่อสารเพื่อเตือนให้ประชาชนสามารถอพยพสิ่งของขึ้นสู่ที่ปลอดภัย พร้อมออกลาดตระเวนแจ้งให้ประชาชนบริเวณจุดเสี่ยง รวมทั้งการส้ารวจเส้นทางขนส่งและล้าเลียงคนชรา คนพิการ และเด็กมาอยู่ในที่ปลอดภัยอย่างรวดเร็วและทันท่วงที พร้อมให้ระวังการเกิดอุทกภัย และเตรียมรับมือกับภัยที่เกิดขึ้น ต้องมีแผนการเตือนภัย ซึ่งประโยชน์ของระบบการ พยากรณ์และการเตือนภัยที่แม่นย้านั้น คือการปกป้องชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนและสาธารณะ เพื่อลดปัญหาทางเศรษฐกิจและสังคมที่ตามมาภายหลังน้้าท่วม ต้องมีแผนการที่สามารถน้ามาใช้ในการบรรเทาจ้านวนผู้บาดเจ็บ ผู้เสียชีวิต และทรัพย์สินที่เสียหายได้จริง ประชาชนทุกคนควรมีส่วนร่วมในการปฏิบัติตามแผนเพื่อปกป้องทรัพย์สินของตนเองและอาจให้ความร่วมมือกับชุมชนในสิ่งที่สามารถกระท้าได้ เช่น ช่วยเรียงกระสอบทราย เป็นต้น ส้าหรับการบรรเทาน้้าท่วม สถานการณ์น้้าท่วมจะช่วยควบคุมการไหลของน้้าและท้าให้การพยากรณ์น้้าท่วมท้าได้ง่ายและแม่นย้ายิ่งขึ้น การเตือนภัยจะมีประโยชน์กรณีของผู้ท้าการเกษตร เช่น การเคลื่อนย้ายสัตว์ และอพยพผู้คนไปอยู่ในที่ปลอดภัยจากน้้าท่วม และต้องมีการวางแผนการล้าเลียงคนและอุปกรณ์ส้าหรับให้ความช่วยเหลือในขณะเกิดน้้าท่วม 2) ขั้นการสงเคราะห์ชาวบ้าน ในรอบปีที่ผ่านมาพบว่า องค์การบริหารส่วนต้าบลน้้ารอบมีการแจกถุงยังชีพหรืออาหารแห้งให้แก่ประชาชนในเบื้องต้นอย่างเพียงพอ แก่ประชาชนที่ได้รับความเดือดร้อนมากและรุนแรงเป็นอันดับแรก และได้รับความรุนแรงน้อยเป็นล้าดับถัดไป ซึ่งเกิดความไม่เพียงพอและการกระจายไปสู่ผู้ได้รับความเดือดร้อนไม่ทั่วถึงตามความเดือดร้อนจริง พร้อมทั้งน้้าเพื่อใช้ในการกระจายไปสู่อุปโภคบริโภค รวมทั้งจัดศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พร้อมจัดเตรียมสถานที่อนุเคราะห์หรือศูนย์อพยพให้ชาวบ้านและประชาชนใน พื้นที่ผู้ประสบภัยน้้าท่วมมาพักอาศัย บริเวณที่น้้าไม่สามารถท่วมถึงได้ จัดหาอุปกรณ์ไฟฟ้า ประปาแก่ผู้ที่พักอาศัย จัดหาถุงยังชีพและยารักษาโรคแก่ผู้ประสบภัยน้้าท่วมไม่ว่าจะเป็นข้าวสาร อาหารแห้ง น้้าดื่มเพื่อการอุปโภคและเพื่อการบริโภค เรือท้องแบน ต้องมีการจัดเตรียมสถานที่อนุเคราะห์หรือศูนย์อพยพให้ชาวบ้านและประชาชนในพื้นที่ผู้ประสบภัยน้้าท่วมมาพักอาศัย บริเวณที่น้้าไม่สามารถท่วมถึงได้ จัดหาอุปกรณ์ไฟฟ้า ประปาแก่ผู้ที่พักอาศัย จัดหาถุงยังชีพและยารักษาโรคแก่ผู้ประสบภัยน้้าท่วมไม่ว่าจะเป็นข้าวสาร อาหารแห้ง น้้าดื่มเพื่อการอุปโภคและเพื่อการบริโภค เรือท้องแบน ต้องมีการจัดโครงการช่วยเหลือผู้ประสบภัยหลังน้้าท่วม ซึ่งทั้งที่อยู่อาศัย และพื้นที่การเกษตรไม่ว่าจะเป็นเงินสนับสนุน และให้ก้าลังใจแก่ผู้ประสบภัย ซึ่งต้องประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้การช่วยเหลือในเบื้องต้น และอ้านวยความสะดวกในด้านต่างๆ ส่วนการจัดให้บริการรักษาพยาบาลแก่ประชาชนที่เจ็บป่วยจากภัยพิบัติในสถานพยาบาล หรือจัดหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ไปให้บริการรักษาพยาบาลโรคทางกายและจิต ณ จุดเกิดเหตุโดยจ่ายค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลผ่านสถานบริการได้ตามที่จ่ายจริงและได้รับการสนับสนุนงบประมาณขององค์การบริหารส่วนต้าบลน้้ารอบเอง และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และหลังน้้าลดต้องการได้รับการดูแลความเสียหายของพืชผลทางการเกษตร และทรัพย์สินอื่นๆ พร้อมแจ้งอ้าเภอหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องช่วยเหลือ ไม่ว่าศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดสุราษฎร์ธานีเข้ามาช่วยเหลือสงเคราะห์ชาวบ้านในเบื้องต้น เช่น สนับสนุนเรือท้องแบน พร้อมเจ้าหน้าที่ในการช่วยเหลือ 3) ขั้นการระบายน้้า ในรอบที่ผ่านมาพบว่า สภาพพื้นที่ของต้าบลน้้ารอบเป็นพื้นที่ติดต่อกับคลองพุมดวง และเป็นพื้นที่การเกษตร พร้อมทั้งรับน้้าจากต้าบลใกล้เคียงท้าให้เกิดน้้าท่วมขังเป็นพื้นที่กว้างในระยะเวลานาน ซึ่งการระบายน้้าท้าได้ยากเพราะเป็นการระบายน้้าที่ขังอยู่บนผิวดิน โดยการปรับปรุงผิวดินหรือทางระบายน้้าที่มีอยู่แล้วตามธรรมชาติ เพื่อให้น้้าที่ยังอยู่นั้นไหลไปสู่ที่ทิ้งน้้าโดยเร็วที่สุดโดยไม่เกิดการกัดเซาะผิวดินหรือทางระบายน้้านั้นด้วย ซึ่งปัญหาการระบายน้้า ได้แก่ พื้นที่สูงๆ ต่้าๆ ท้าให้น้้าไหลลงทางระบายน้้าธรรมชาติยาก ทางระบายน้้าขนาดเล็ก ระบายได้ทัน ประกอบกับสภาพของที่ทิ้งน้้าไม่เหมาะสม ระบายน้้าทิ้งได้ช้า และระบบระบายน้้าได้ดีต้องมีการขุดคูเชื่อมระหว่างแอ่งหนึ่งไปยังแอ่งหนึ่งที่อยู่ต่้าสุดไปสู่คูระบายน้้าออกจากพื้นที่ ต้องมีการขุดลอกคูคลองระบายน้้า และก่อสร้างท่อลอดเหลี่ยม เพื่อระบายน้้าไปสู่แหล่งเก็บกักน้้าตามธรรมชาติ ได้แก่หนองขนม หนองหัววังซึ่งมีพื้นที่มากกว่า 25 ไร่ แต่การระบายน้้าไม่ได้ผลดี เนื่องจากสภาพของพื้นที่เป็นแอ่งกระทะท้าให้ระดับสูงกว่าพื้นที่อื่นๆ และการระบายน้้าเป็นไปได้ช้า ท้าให้น้้าท่วมขังเป็นเวลานาน การขุดลอกคูคลองและก้าจัดวัชพืชน้้า รวมทั้งเศษซากวัสดุและขยะ การยกหรือขยายสะพานและท่อลอดเพื่อไม่ให้กีดขวางการไหลของน้้า รวมถึงการเคลื่อนย้ายสิ่งกีดขวางทางน้้า และ 4) ขั้นการเยียวยาและ/หรือฟื้นฟู ในรอบปีที่ผ่านมาองค์การบริหารส่วนต้าบลน้้ารอบเข้าไปตรวจสอบพื้นที่ที่ได้รับความเสียหายจากน้้าท่วม ไม่ว่าจะเป็นถนนหนทาง บ้านเรือนราษฎร และพื้นที่การเกษตร ซึ่งบ้านเรือนที่ได้รับความเสียหายต้องการได้รับการซ่อมแซม หรือก่อสร้างบ้านใหม่ หรือให้เงินชดเชยกรณีบ้านพังทั้งหลังหรือได้รับความเสียหายบางส่วน มอบเงินช่วยเหลือครัวเรือนละ 5,000 บาท ตามนโยบายรัฐบาล และมีการจ่ายงบประมาณเพื่อฟื้นฟูบ้านเรือนหรือพื้นที่การเกษตรหลังน้้าลด เพื่อสร้างขวัญและก้าลังใจให้กับประชาชนและประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อให้การช่วยเหลือฟื้นฟูหลังน้้าลดเพื่อประชาชนได้ประกอบอาชีพในการด้ารงชีวิตต่อไป

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-11-16

How to Cite

พลภักดี อ. (2019). การบริหารจัดการสภาวะน้าท่วม ขององค์การบริหารส่วนต้าบลน้ารอบ อ้าเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี. สหวิทยาการและความยั่งยืนปริทรรศน์ไทย, 2(1), 320–365. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/JIRGS/article/view/225505