การจัดการสภาวะน้าท่วม ในต้าบลท่าโรงช้าง อ้าเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี

ผู้แต่ง

  • รัตนาภรณ์ สกุลหนู นักศึกษาปริญญารัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต วิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น มหาวิทยาลัย ขอนแก่น

คำสำคัญ:

การจัดการสภาวะน้้าท่วม, องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

บทคัดย่อ

การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสถานการณ์น้้าท่วม สาเหตุของการเกิดน้้าท่วมและการบริหารจัดการสภาวะน้้าท่วมในต้าบลท่าโรงช้าง อ้าเภอพุนพิน จังหวัด สุราษฎร์ธานี ด้วยการเก็บข้อมูลเป็นแบบสัมภาษณ์เชิงลึก วิเคราะห์และน้าเสนอข้อมูลเชิงพรรณนา ผลการศึกษาพบว่า ในเขตต้าบลท่าโรงช้างได้รับความเสียหายและผลกระทบจากสภาวะน้้าท่วมเป็นประจ้าทุกปี ซึ่งในปี 2551 ได้รับความเสียหายจากน้้าท่วม 10% ของพื้นที่ทั้งหมด และในปี 2553 เพิ่มขึ้นเป็น 30% ของพื้นที่ทั้งหมด ส้าหรับปี 2554 ได้รับความเสียหายจากน้้าท่วมหนักที่สุดคือ 70% ของพื้นที่ทั้งหมด คิดเป็นมูลค่าความเสียหายรวม 633,413,930 บาท สามารถแบ่งระดับน้้าท่วมได้ตั้งแต่ 1-3 เมตร ส้าหรับสาเหตุของการเกิดน้้าท่วมต้าบลท่าโรงช้างนั้น พบว่า เกิดจากพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ราบลุ่มติดแม่น้้า คูระบายน้้า/ล้าคลองตื้นเขิน มีการก่อสร้างบ้านเรือนและโรงงานอุตสาหกรรมต่างๆ ปิดกั้นทางไหลของน้้า ซึ่งการบริหารจัดการสภาวะน้้าท่วมในต้าบลท่าโรงช้าง ประกอบด้วย 4 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นตอนที่ 1 การเตือนภัย คือ กรณีที่หนึ่ง การแจ้งเตือนเพื่อเตรียมความพร้อม ประกอบด้วย การแจ้งเตือนให้ประชาชนฟังประกาศจากกรมอุตุนิยมวิทยาหรือหน่วยงานราชการอย่างสม่้าเสมอ การสังเกตและประเมินสภาวะน้้า จัดเตรียมเก็บสัมภาระ เอกสารส้าคัญและอุปกรณ์ยังชีพที่จ้าเป็น การเตรียมความพร้อมส้าหรับการอพยพ และกรณีที่สอง การแจ้งเตือนเพื่อหนีภัย ท้าได้หลายวิธี ได้แก่ ใช้ไซเรนเตือนภัยแบบมือหมุน ใช้เสียงตามสายผ่านทางหอกระจายข่าวประจ้าหมู่บ้านหรือชุมชน ตีกลองเพลหรือกลองประจ้าหมู่บ้าน (ถ้ามี) การเป่านกหวีดเสียงยาวหรือการจุดพลุ ขั้นตอนที่ 2 การสงเคราะห์ชาวบ้าน ประกอบด้วย จัดตั้งศูนย์พักพิงหรือศูนย์อพยพ เตรียมระบบสาธารณูปโภคและสาธารณูปการไว้ให้พร้อม การลงทะเบียนรับแจ้งเหตุผู้ประสบภัย การแจกถุงยังชีพให้ผู้ประสบภัย การจัดตั้งหน่วยรับบริจาคสิ่งของเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัย ขั้นตอนที่ 3 การระบายน้้า กรณีที่หนึ่ง การระบายน้้าในภาวะวิกฤติ ประกอบด้วย ใช้กระสอบทรายกั้นตลอดแนวแม่น้้าพุมดวงเพื่อป้องกันน้้าทะลักเข้าท่วมพื้นที่ ใช้เครื่องสูบน้้าสูบน้้าจากที่ลุ่มระบายออกสู่แม่น้้าพุมดวง และขุดลอกคูระบายน้้าและล้าคลองที่ตื้นเขินเพื่อเร่งการระบายน้้าออกสู่แม่น้้าพุมดวง และกรณีที่สอง การระบายน้้าระยะยาว ประกอบด้วย ปรับปรุงระบบระบายน้้า การก่อสร้างเขื่อน คสล. เพื่อรองรับการระบายน้้าตลอดล้าน้้าพุมดวง และ ขุดลอกคูระบายน้้า/ล้าคลองที่ตื้นเขิน และขั้นตอนที่ 4 การเยียวยาและ/หรือฟื้นฟู ประกอบด้วย การส้ารวจความเสียหาย โดยส้ารวจ 4 เรื่อง ได้แก่ การส้ารวจรายชื่อราษฎรผู้ประสบภัย ส้ารวจบ้านเรือนและสิ่งปลูกสร้างที่ได้รับความเสียหาย ส้ารวจพื้นที่การเกษตรที่ได้รับความเสียหาย ส้ารวจผู้ประกอบการ โรงงานที่ประสบภัย การฟื้นฟู บูรณะ และเยียวยาผู้ประสบภัย ได้แก่ การให้เงินช่วยเหลือในเบื้องต้น ซ่อมแซมบ้านเรือนและสิ่งปลูกสร้างที่เสียหาย การประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อขอรับเงินชดเชยทางการเกษตร การลดหย่อนภาษีโรงเรือนและที่ดินให้แก่ผู้ประกอบการและโรงงานที่ได้รับความเสียหาย การอบรมอาชีพเสริมให้แก่ราษฎร การจัดกิจกรรม Big Cleaning Day ส้าหรับ กระบวนการมีส่วนร่วมระหว่างชุมชนและท้องถิ่นในการบริหารจัดการน้้าท่วมในต้าบลท่าโรงช้าง อ้าเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานีนั้น พบว่ามุ่งเน้นให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการบริหารจัดการน้้าท่วมในทุกขั้นตอน อาทิ การคัดเลือกและแต่งตั้งอาสาเสียงใส ใส่ใจน้้าท่วมประจ้าหมู่บ้าน การคัดเลือกและอบรมอาสาสมัครป้องกันภัยน้้าท่วมประจ้าหมู่บ้าน การเข้ามามีส่วนร่วมในการเป็นคณะกรรมการส้ารวจความเสียหายเพื่อความโปร่งใสและเกิดความเป็นธรรมและการมีส่วนร่วมในขุดลอกคูระบายน้้าและล้าคลองที่ตื้นเขินเป็นประจ้าเพื่อสร้างความสามัคคีของคนในชุมชน เป็นต้น

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-11-16