สถานการณ์การบริหารจัดการท้องถิ่นไทย ในเชิงกระบวนการที่ท้าทายสู่คุณภาพบริการสาธารณะ

ผู้แต่ง

  • รงค์ บุญสวยขวัญ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขารัฐศาสตร์ สานักวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

คำสำคัญ:

การบริหารจัดการท้องถิ่น, คุณภาพบริการสาธารณะ

บทคัดย่อ

บทความชิ้นนี้มีวัตถุประสงค์ที่อธิบายเกี่ยวกับองค์กรปกครองท้องถิ่นไทย ในระยะที่ผ่านมากว่าทศวรรษนี้ว่ามีสถานการณ์การบริหารจัดการภายใต้เงื่อนไขปัจจัยที่จากัด ทั้งนี้ ด้วยการอธิบายผ่านการสังเคราะห์จากงานการศึกษาอิสระจานวน 13 ชิ้น ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยการบริหารจัดการที่มีระบบที่เกี่ยวข้องกับปัจจัยนาเข้า เช่น งบประมาณ บริบททางการบริหาร ความสัมพันธ์ทางอานาจกับรัฐบาลกลาง สิ่งแวดล้อมทางการบริหาร ปัจจัยนาเข้าในด้านงบประมาณเป็นตามที่รัฐบาลกลางกาหนด คือปัจจัยสาคัญ โดยส่วนใหญ่แล้วองค์กรท้องถิ่นใช้งบประมาณไม่ต้องสนใจรายได้เพราะรัฐบาลกลางจัดการให้ในแต่ละปี เพียงแต่ต้องใช้งบประมาณตามการควบคุมด้วยโครงสร้างของกฎหมายที่รัฐบาลกลางกาหนดอย่างเข้มงวด, ส่วนการบริหารจัดการท้องถิ่นมีความผกผันไปตามบริบท เช่น 1) ความสัมพันธ์เชิงอานาจกับรัฐบาลกลาง 2) สภาพนิเวศหรือกายภาพที่ผันแปรไปอย่างรวดเร็วทาให้การบริหารจัดการท่ามกลางความเสี่ยงหรือผันแปรไปตามท่ามกลางวิกฤติสิ่งแวดล้อม 3) การตื่นตัวด้านสิทธิ์ของพลเมือง การตื่นตัวด้านวัฒนธรรมชุมชนท้องถิ่น คุณค่าของภูมิปัญญาที่รื้อฟื้น และพลังของกลุ่มทางสังคม 4) ความขัดแย้งทางการเมือง ความขัดแย้งทางสังคม ที่นับว่าเป็นเงือนไขที่ทีอิทธิพลต่อการบริหารงานมากขึ้นไปด้วย การบริหารจัดการภายในที่มีประสิทธิภาพต่าในด้านการวางแผนกับการปฏิบัติตามแผน โดยเฉพาะเมื่อนาเอามาวิเคราะห์กับการจัดซื้อพัสดุ การโอนงบประมาณ เงินสะสม

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-11-15