การถูกล้อเลียนเกี่ยวกับรูปร่าง ภาพลักษณ์รูปร่างแห่งตนและพฤติกรรมการลดน้ำหนักในนักศึกษาระดับชั้นปริญญาตรี

Main Article Content

นลินี อาวุธ
ดรณี จันทร์หล้า

บทคัดย่อ

วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการถูกล้อเลียนเกี่ยวกับรูปร่าง ภาพลักษณ์รูปร่างแห่งตน และพฤติกรรมการลดน้ำหนักในนักศึกษาระดับชั้นปริญญาตรี


วิธีการศึกษา กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาระดับชั้นปริญญาตรี จำนวน 396 คน เครื่องมือที่ใช้ประกอบด้วยแบบวัดการรับรู้การถูกล้อเลียนเกี่ยวกับรูปร่าง แบบสอบถามการรับรู้ภาพลักษณ์รูปร่างและแบบสอบถามพฤติกรรมการลดน้ำหนัก การวิเคราะห์ข้อมูลประกอบด้วยสถิติพรรณาและใช้สถิติค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน


ผลการศึกษา การรับรู้การล้อเลียนรูปร่างมีความสัมพันธ์ทางลบกับภาพลักษณ์รูปร่างแห่งตน การรับรู้การถูกล้อเลียนเกี่ยวกับรูปร่างมีความสัมพันธ์ทางลบพฤติกรรมการลดน้ำหนัก และภาพลักษณ์รูปร่างแห่งตนมีความสัมพันธ์ทางบวกพฤติกรรมการลดน้ำหนัก

Article Details

บท
นิพนธ์ต้นฉบับ

References

การลดน้ำหนัก. (2561). สืบค้นเมื่อ 11 พฤษภาคม 2561. จาก Google: www.google.com.
ชูชัย สมิทธิไกร และสิทธิโชค วรานุสันติกูล. (2546). จิตวิทยาสังคม. เชียงใหม่: ภาควิชาจิตวิทยา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
พฤภัทร ทรงเที่ยง. (2561). กินจนปากมันแผล็บแต่น้ำหนักลดฮวบๆ อย่างนี้ก็มีหรือ? คีโตเจนิก การกินไขมันเพื่อเผาผลาญไขมัน. สืบค้นเมื่อ 27 พฤษภาคม 2562. จาก https://thestandard.co/ketogenic-diet/.
ศรีเรือน แก้วกังวาน. (2553). จิตวิทยาพัฒนาการชีวิตทุกช่วงวัย (เล่ม 2) วัยรุ่น-วัยสูงอายุ.(พิมพ์ครั้งที่ 9).กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
สุภาภรณ์ ใจบุญลือ. (2560). พฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อลดน้ำหนักของนิสิตมหาวิทยาลัยพะเยา. การค้นคว้าอิสระ สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตมหาวิทยาลัยพะเยา.
“สังเวย-อีกราย ลดอ้วน นศ.ตายเปลือย”. (26 พฤษภาคม 2561). ไทยรัฐ, น. 1.
Cooper, P. J., Taylor, M. J., Cooper, Z. & Fairburn, C.G. (1986). The development and validation of the Body Shape Questionnaire. International Journal of Eating Disorders 6: 485-494.
Deci, E.L. & Ryan, R.M. (2002). Handbook of Self-Determination Research. Rochester, NY: The University of Rochester Press.
Jackson, S.E., Beeken, R.J. & Wardle, J. (2014). Perceived weight discrimination and change in weight, waist circumference, and weight status. Obesity. 22(12):
2485-2488. Obesity (2014) 22, 2485–2488. doi:10.1002/oby.20891.
Jackson, S.E., Steptoe, A. (2017). Association between perceived weight discrimination and physical activity: A population-based study among English middle-age and older adults. BMJ Open. 7: 1-5.BMJ Open 2017;7:e014592. doi:10.1136/bmjopen-2016-014592.
Kim, M. S. (2014). Anorexia prevention messages: Effects on psychological reactance among female college students. (Graduate Theses and Dissertations, Iowa State University).
Menzel, J. E., Schaefer, L. M., Burke, N. L., Mayhew, L. L., Brannick, M. T. & Thompson,J .K. (2010). Appearance-related teasing, body dissatisfaction, and disordered
eating: A meta-analysis. Body Image. 7: 261-270. doi:10.1016/j.bodyim.2010.05.004.
Teixeira, P. J., Silva, M. N., Mata, J., Palmeira, A.L. & Marland, D. (2012). Motivation, self-determination, and long-term weight control. International Journal of Behavioral Nutrition and Physical Activity. 9(22): 1-13.