ผลการใช้กระบวนการกลุ่มแบบการมีส่วนร่วมของครอบครัวต่อการเห็นคุณค่าในตนเองของเด็กที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้

Main Article Content

อภิญญา ตันเจริญ
สุพัทธ แสนแจ่มใส

บทคัดย่อ

วัตถุประสงค์ การศึกษาวิจัยในครั้งนี้เป็นการพัฒนาการเห็นคุณค่าในตนเองของเด็กที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้
โดยผ่านโปรแกรมกระบวนการกลุ่มแบบการมีส่วนร่วมของครอบครัว
วัสดุและวิธีการ กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนทีมีความบกพร่องทางการเรียนรู้ ที่กำลังศึกษาในระดับชั้นประถมศึกษา
ปีที่ 3 – 6 จำนวน 24 คน หรือ 12 คู่ (ผู้ปกครอง 1 คนและเด็ก 1 คน) แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มละ 6 คู่ แยกเป็นก
ลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม และใช้วิธีสุ่มอย่างง่ายโดยการจับฉลากเข้ากลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มทดลอง
จะได้เข้าร่วมโปรแกรมกระบวนการกลุ่มแบบการมีส่วนร่วมของครอบครัว แต่ในกลุ่มควบคุมจะได้รับการเข้าร่วม
โปรแกรมแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (Individualized Education Program) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่
โปรแกรมกระบวนการกลุ่มแบบการมีส่วนร่วมของครอบครัว และแบบประเมินการเห็นคุณค่าในตนเอง สถิติที่ใช้
ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ สถิติ Wilcoxon Signed Rank test และ Mann Whitney U test
ผลการศึกษา กลุ่มทดลองมีระดับการเห็นคุณค่าในตนเองสูงขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05 แต่ในกลุ่มควบคุม
ไม่พบความแตกต่างในระดับนัยสำคัญทางสถิติ และเมื่อเปรียบเทียบระดับการเห็นคุณค่าในตนเองระหว่างกลุ่มทดลอง
และกลุ่มควบคุมภายหลังการเข้าร่วมโปรแกรม พบว่ากลุ่มทดลองมีระดับการเห็นคุณค่าในตนเองสูงกว่ากลุ่มควบคุม
อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05
สรุป จากผลการวิจัยจึงสะท้อนให้เห็นว่ากระบวนการกลุ่มแบบการมีส่วนร่วมของครอบครัวสามารถพัฒนาการเห็น
คุณค่าในตนเองในเด็กที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ได้

Article Details

บท
นิพนธ์ต้นฉบับ

References

กรมสุขภาพจิต. (2557). กรมสุขภาพจิตเร่ง ช่วยเด็กไทย พ้นวิกฤตส่งเสริมการคัดกรองและดูแลปัญหาด้านจิตใจ ตั้งเป้าหมาย 3 ปี ดูแลครบ.สืบค้นจาก http://rajanukul.go.th/main/_
admin/images/groupreview/groupreview0000360.pdf
จันทร์ฉาย พิทักษ์ศิริกุล. (2532). ผลของการจัดโปรแกรมการฝึกความกล้าแสดงออกต่อความรู้สึกเห็นคุณค่าในตนเองของนักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,กรุงเทพฯ.
จินดาพร แสงแก้ว. (2541). การเปรียบเทียบผลของการใช้กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์แบบมาราธอนเพื่อพัฒนาความภาคภูมิใจในตนเองของเด็กบ้านอุปถัมถ์ มูลนิธิสร้างสรรค์เด็ก. (ปริญญานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, กรุงเทพฯ.
ชนิดา สุวรรณศรี. (2542). ผลของกิจกรรมกลุ่มที่มีต่อการเห็นคุณค่าในตนเองของเยาวชนผู้ติดยาเสพติด ( วิ ท ย า นิ พ น ธ ์ ป ริ ญ ญ า ม ห า บั ณ ฑิ ต ). มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ
ดารณี ศักดิ์ศิริผล. (2555). การพัฒนาความสามารถอ่านและเขียนคำที่มีตัวสะกดตรงตามมาตราของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-3 ที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้โดยใช้วิธี P - Lips: รายงานการวิจัย = The development of reading and spelling skill for the students with learning disabilities in pratom suksa I to III by P - Lips method. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, กรุงเทพฯ.
เด่นเดือน ภู่ศรี. (2556). ผลของโปรแกรมฟื้นฟูสมรรถภาพโดยการมีส่วนร่วมของครอบครัวต่อการเห็นคุณค่าในตนเองและความเข้มแข็งในการมองโลกของผู้เสพแอมเฟตามีน (วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยมหิดล, กรุงเทพฯ.
ทวีศักดิ์ สิริรัตน์เรขา. (2556). แอลดี-ความบกพร่องในก า ร เ รี ย น รู ้. สื บ ค ้ น จ า ก h t t p s : / /www.happyhomeclinic.com/sp04-ld.htm
ปุริมาพร แสงพยับ. (2553). ผลการให้คำปรึกษาแบบกลุ่มตามทฤษฎีเผชิญความจริงที่มีต่อการตระหนักรู้ และการเห็นคุณค่าในตนเองของนั ก ศึ ก ษ า ม ห า วิ ท ย า ลั ย เ ก ษ ม บั ณ ฑิ ต
(วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยรามคำแหง, กรุงเทพฯ.
วรวรรณ ชัยยา. (2558). การส่งเสริมการเห็นคุณค่าในตนเองของเด็กที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้โดยใช้เทคนิคโทรทเซอร์ (สารนิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่.
วรวุฒิ เจริญวุฒิวิทยา. (2546). การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันความภูมิใจในตนเองของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพสาขาช่างอุตสาหกรรม (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยบูรพา, ชลบุรี.
ศันสนีย์ ฉัตรคุปต์. (2544). ความบกพร่องในการเรียนรู้หรือแอลดี : ปัญหาการเรียนรู้ที่แก้ไขได้. กรุงเทพฯ: วัฒนาพานิช.
สถาบันราชานุกูล. (2559). การสำรวจสถานการณ์ระดับสติปัญญา (IQ) และความฉลาดทางอารมณ์(EQ) เด็กไทยวัยเรียนและปัจจัยที่เกี่ยวข้อง. สืบค้นจาก https://th.rajanukul.go.th/
preview-5122.html
สำนักงานบริหารการศึกษาพิเศษ. (2560). รายงานจำนวนนักเรียนพิการเรียนรวม รวมทุกสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา. สืบค้นจาก http://specialbasic.specialset.bopp.go.th/specialbasic/download/student_2559_2_class_de.pd
สุใจ ส่วนไพโรจน์. (2556). การปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบกลุ่มและทักษะการปฏิบัติ. สงขลา: ภาควิชาจิตวิทยาและการแนะแนว คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
สุวิมล สนั่นชาติวณิช. (2551). รายงานผลของโปรแกรมฟื้นฟูสมรรถภาพโดยการมีส่วนร่วมของครอบครัวต่อการเห็นคุณค่าในตนเองและความเข้มแข็งในการมองโลก ของผู้เสพแอมเฟตามีน. ใน การประชุมวิชาการยาเสพติดแห่งชาติ. ตรัง; โรงพยาบาลหห้วยยอดจังหวัดตรัง.
อุมาพร ตรังคสมบัติ. (2544). จิตบำบัดและการให้คำปรึกษาครอบครัว (พิมพ์ครั้งที่5). กรุงเทพฯ: ศูนย์วิจัยและพัฒนาครอบครัว.

Abraham, C., Gregory, N., Wolf, L., & Pembeerton, R. (2002). Self-esteem, stigma and community participation amongst people with learning difficulties living in the community. Journal of Community and Applied Social Psychology, 12(6), 430-443.
Alesi, M., Rappo, G., & Pepi, A. (2012). Self-Esteemat School and Self-Handicapping in Childhood: Comparison of Groups with Learning Disabilities. Psychological
Reports, 111(3), 952-962.
Bullock, B. M., Bank, L., & Burraston, B. (2002). Adult sibling expressed emotion and fellow sibling deviance: A new piece of the family process puzzle. Journal of Family Psychology, 16(3), 307.
Cortiella, C., & Horowitz, S. H. (2014). The state of learning disabilities: Facts, trends and emerging issues. New York: National center for learning disabilities, 25, 2-45.
Herz, L., & Gullone, E. (1999). The relationship between self-esteem and parenting style: A cross-cultural comparison of Australian and Vietnamese Australian adolescents. Journal of cross-cultural psychology, 30(6), 742-761.
Hutchison, E. D. (2018). Dimensions of human behavior: The changing life course: Sage Publications.
Lahane, S., Shah, H., Nagarale, V., & Kamath, R. (2013). Comparison of self-esteem and maternal attitude between children with learning disability and unaffected siblings. The Indian Journal of Pediatrics, 80(9), 745-749.
Pope, A. W., McHale, S. M., & Craighead, W. E. (1988). Self-esteem enhancement with children and adolescents: Pergamon Press.
Rezaei-Dehaghani, A., Paki, S., & Keshvari, M. (2015). The relationship between family functioning and self-esteem in female high school students of Isfahan, Iran, in 2013–2014. Iranian journal of nursing andmidwifery research, 20(3), 371.