“ล่า” : การแปลงรูปแบบของการสื่อสาร ด้วยการแต่งหน้าของตัวละครเอกในละครโทรทัศน์ยุคดิจิทัล

Main Article Content

กฤษณ์ คำนนท์

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์การควบรวมทางการสื่อสารและการแปลงรูปแบบของการสื่อสารจากการแต่งหน้าของตัวละครเอกในละครโทรทัศน์ยุคดิจิทัล ผลการศึกษาพบว่า การสื่อสารด้วยการแต่งหน้าตัวละครเอกได้เกิดการควบรวมทางการสื่อสารอันเกิดจากตัวสื่อและตัวสาร โดยสามารถซ้อนทับ สลับสับเปลี่ยนหน้าที่ในการกำกับความหมายของการแต่งหน้าให้เกิดขึ้น ทั้งนี้ได้เกิดการเปลี่ยนแปลงรูปร่างของสื่อ  4 ระดับ คือ 1. การเปลี่ยนแปลงรูปร่างน้อย (gradual metamorphosis) 2. การเปลี่ยนแปลงรูปร่างกึ่งสมบูรณ์ (incomplete metamorphosis) 3. การเปลี่ยนแปลงรูปร่างสมบูรณ์ (Complete metamorphosis) และ 4. การเปลี่ยนแปลงรูปร่างขั้นสูง (hyper metamorphosis)

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

ภาษาไทย
กาญจนา แก้วเทพ. (2545). สื่อบันเทิง : อำนาจแห่งความไร้สาระ. กรุงเทพฯ: ออล อเบ้าท์ พริ้นท์.
กาญจนา แก้วเทพ และสมสุข หินวิมาน. (2551). สายธารแห่งนักคิดทฤษฎีเศรษฐศาสตร์การเมืองกับสื่อสารศึกษา. กรุงเทพฯ: ภาพพิมพ์.
เจริญพงศ์ ศรีสกุล. (2550). การออกแบบเนื้อหาส่วนควบและส่วนขยายในสื่อดีวีดีภาพยนตร์. วิทยานิพนธ์ปริญญานิเทศศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการสื่อสารมวลชน คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ยุทธนา สุวรรณรัตน์. (2559). การข้ามผ่านทางการสื่อสารของบทพระราชนิพนธ์เรื่องไกลบ้าน. วิทยานิพนธ์ปริญญานิเทศศาสตรมหาบัณฑิต สาขานิเทศศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสยาม.
ศิริชัย ศิริกายะ. (2558). ข้อเสนอแนะประเด็นการสื่อสารเพื่องานวิจัยนิเทศศาสตร์ตามแนวคิด “ปฏิปักษ์สัมพันธ์” (Symbiosis) ในยุคดิจิทัล. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 14(16), 7-11.
________. (2559). ทฤษฎีควอนตัมฟิสิกส์กับการควบรวมและการแปลงรูปองค์ประกอบการสื่อสารในยุคดิจิทัล. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 15(19), 7-9.
สุพรรษา ฟูแสง.(2548). อิทธิพลของภาพแบบฉบับ ภาพตายตัว และภาพต้นแบบในการคัดเลือกนักแสดงละครโทรทัศน์ไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญานิเทศศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการสื่อสารมวลชน คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุรพงษ์ โสธนะเสถียร. (2563). สารกับการสื่อความหมาย. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: จามจุรีโปรดักส์ จำกัด.
อวิรุทธ์ ศิริโสภณา และประภัสสร จันทร์สถิตย์พร. (2561). การประกอบสร้างความหมายของผู้หญิงที่ถ่ายทอดผ่านตัวละครหญิงในละครโทรทัศน์ไทยยอดนิยมที่ถูกผลิตซ้ำ ระหว่างปี พ.ศ. 2530 - 2560. วารสารนิเทศศาสตร์และนวัตกรรม นิด้า, 5(1), 23-40.
ภาษาอังกฤษ
Burton, G. (2002). More Than Meets the Eyes: An Introduction to Media Studies. New York: Arnold.
Cantor, Muriel G., and Suzanne Pingree. (1983). The soap opera. Beverly Hills. California: Sage.
Chandler, D. (2002). Semiotics: The basics. London: Routledge.
Corson, R., Norcross, B.G. and. Glavan, J. (2019). Stage Makeup. New York: Routledge.

Fiske, J. (1990). Introduction to Communication Studies. London and New York: Routledge.
Lippmann, W. (1922). Reader In Public Opinion and Mass Communication. New York: The Free Press.
Lister, M. (1995). The Photographic Image in Digital Culture. London and New York: Routledge
McLuhan, M. (1964). Understanding media: The extensions of man. New York: McGraw-Hill.
Quant, Mary. (1996). Classic Make-Up and Beauty. London: Dorling Kindersley.