การวิเคราะห์เปรียบเทียบภาพตัวแทนทหารในเพลงมาร์ชประจำหน่วย และเพลงสมัยนิยม
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์เปรียบเทียบภาพตัวแทนของทหารในเพลงมาร์ชประจำหน่วยงานและเพลงสมัยนิยม ข้อมูลในการศึกษา คือ เพลงมาร์ชประจำหน่วยของกองทัพบก กองทัพเรือ และกองทัพอากาศ รวม 67 เพลง และเพลงสมัยนิยมซึ่งเผยแพร่ในเว็บไซต์ยูทูบ (YouTube) จำนวน 40 เพลง โดยวิเคราะห์ข้อมูลจากการประยุกต์ใช้แนวคิดภาพตัวแทน(Representation) แนวคิดชนิดกระบวนการ (Transitivity) และแนวคิดการแสดงผู้กระทำทางสังคม (Social actors) ผลการศึกษาพบว่า ภาพตัวแทนทหารที่ปรากฏร่วมกันในเพลงมาร์ชประจำหน่วยและเพลงสมัยนิยมมี 3 ลักษณะ คือ ผู้ปกป้องประเทศชาติและประชาชน ผู้มีความเข้มแข็ง และผู้เทิดทูนชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และศักดิ์ศรี ภาพตัวแทนทหารที่ปรากฏเฉพาะเพลงมาร์ชประจำหน่วยมี 2 ลักษณะ คือ ผู้ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความชำนาญ และผู้รักองค์กรและพวกพ้อง ส่วนภาพตัวแทนทหารที่ปรากฏเฉพาะเพลงสมัยนิยมมี 3 ลักษณะ คือ ผู้พลัดพรากจากครอบครัวและคนรัก ผู้มีสถานะต้อยต่ำ และผู้ประพฤติมิชอบในอำนาจหน้าที่ ผลการศึกษาชี้ให้เห็นว่าเพลงมาร์ชประจำหน่วยมุ่งนำเสนอภาพตัวแทนทหารในเชิงบวกเท่านั้น แต่เพลงสมัยนิยมมีการนำเสนอภาพตัวแทนทหารทั้งในเชิงบวกและเชิงลบ ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงกระบวนการช่วงชิงอำนาจผ่านการประกอบสร้างภาพตัวแทนทหารจากฝ่ายกองทัพและฝ่ายประชาชน
Article Details

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ต้นฉบับที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ถือเป็นกรรมสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ห้ามนำข้อความทั้งหมดหรือบางส่วนไปพิมพ์ซ้ำ เว้นเสียแต่จะได้รับอนุญาตจากมหาวิทยาลัยฯ เป็นลายลักษณ์อักษรReferences
กมลลฎา นาคแทน และพัชรินทร์ อนันต์ศิริวัฒน์. (2563). แม่ไม้เพลงไทย : การศึกษาภาพแทนในพื้นที่สังคมชนบท. สักทอง : วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ (สทมส.). 26(1), 135-147.
กิติศักดิ์ มงคลชาติ. (2559). ปัจจัยด้านอุดมการณ์ทหารที่มีอิทธิพลต่อทัศนคติของพลทหารกองประจำการ กองพันทหารปืนใหญ่ที่ 19. วารสารสถาบันวิชาการป้องกันประเทศ. 7(1), 100-109.
โฆสิตพงษ์ นิลเอก. (2566). การเสริมสร้างคุณลักษณะทหารสำหรับนักเรียนนายสิบทหารบก. รัฏฐาภิรักษ์. 65(1), 93-104.
ญาศิณี บุญมา และอรทัย ชินอัครพงศ์. (2565). สัญญะที่สื่ออุดมการณ์ในเพลงมาร์ชประจำโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา. วารสารมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. 19(1), 26-37.
ณัฐพร พานโพธิ์ทอง. (2556). วาทกรรมวิเคราะห์เชิงวิพากษ์ตามแนวภาษาศาสตร์ : แนวคิดและการนำมาศึกษาวาทกรรมในภาษาไทย. กรุงเทพฯ: โครงการเผยแพร่ผลงานวิชาการ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ธีระ บุษบกแก้ว. (2562). ภาพตัวแทนผู้สูงอายุไทยที่สื่อผ่านกลวิธีทางภาษาในวาทกรรมสื่อสาธารณะ (วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
นพวรรณ เมืองแก้ว และเชิดชัย อุดมพันธ์. (2567). กลวิธีทางภาษาที่สื่อภาพแทนผู้ป่วยโรคซึมเศร้าในหนังสือพิมพ์รายวันภาษาไทย. วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้. 11(2), 20-39.
พลทหารซึ้งใจ ผบ.มทบ.39 รุดช่วยเหลือครอบครัว หลังรู้ข่าวสุดลำบากอาศัยนอนโกดังเก่า. (14 พฤศจิกายน 2563). คมชัดลึก. สืบค้น 28 ธันวาคม 2566, จากhttps://www. komchadluek.net/news/448973
พิชญาวี ทองกลาง และจามจุรี นิศยันต์. (2563). ภาพแทนผัว – เมีย ในวรรณกรรมเพลงลูกทุ่งอีสาน. วิวิธวรรณสาร. 4(3), 53-85.
พิชญาวี ทองกลาง และทินวัฒน์ สร้อยกุดเรือ. (2563). กลวิธีการใช้คำกริยากับการประกอบสร้างภาพแทนครูในบทเพลงที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับครู. วารสารชุมชนวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา. 15(1), 209-222.
ระพีพัฒน์ หาญโสภา, เชษฐา จักรไชย, และพยงค์ มูลวาปี. (2564). การนำเสนอภาพผู้หญิงในบทเพลงลูกทุ่งยอดนิยม. วารสารมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตร้อยเอ็ด. 10(2), 184-197.
เรืองวิทย์ เกษสุวรรณ. (2566). วิธีวิทยาของฟูโกต์และวาทกรรมวิพากษ์. กรุงเทพฯ: บริษัท เคล็ดไทย จำกัด. โรม ชี้ไทยส่งตัว 3 ชาวเมียนมาต้านรบ.ทหาร ‘กลับประเทศ’ สะท้อนเผด็จการ 2 ปท. แนบแน่น. (8 เมษายน 2566). มติชนออนไลน์. สืบค้น 28 ธันวาคม 2566, จากhttps://www.matichon.co.th/politics/news_3918088
วิชชกานต์ เมธาวิริยะกุล, เพ็ญนภา คล้ายสิงโต, และศิระวัสญ์ กาวิละนันท์. (2563). การวิเคราะห์หัวข้อข่าวสรรพากร: มิติ อภิหน้าที่. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 39(6), 99-114.
ศิริพร ภักดีผาสุข. (2561). ความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับอัตลักษณ์และแนวทางการนำมาศึกษาภาษาไทย. กรุงเทพฯ: โครงการเผยแพร่ผลงานวิชาการ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สิริพร รอดเกลี้ยง. (2565). ภาพแทนผู้หญิงในเพลงกล่อมเด็กภาคใต้. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา. 4(1), 115-148.
สิริภัทร เชื้อกุล. (2563). ภาพตัวแทนผู้เรียนอาชีวศึกษาที่ประกอบสร้างผ่านภาษาใน
วาทกรรมสื่อมวลชนและวาทกรรมสื่อภาครัฐ: การศึกษาแนววาทกรรมวิเคราะห์เชิงวิพากษ์ (วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Anggraini, N. and Fidiyanti, M. (2018). Transitivity Process and Ideological Construction of Donald Trump's Speeches. NOBEL: Journal of Literature and Language Teaching. 9(1), 26-44. doi:10.15642/NOBEL. 2018.9.1.26-44
Beji, Y. (2016). Transitivity and Context in Critical Discourse Analysis Case study: TAP headlines on regions in Tunisia. International Journal of Humanities and Cultural Studies. 2(4), 326-342.
Fairclough, N. (2013). Critical discourse analysis. In Handford, M., & Gee, J.P. (Eds.). (2013). The Routledge Handbook of Discourse Analysis. Routledge. https://doi.org/10.4324/ 9780203809068
Hall, S. (1997). The Work of Representation. In S. Hall (Ed.), Representation: Cultural Representations and Signifying Practices. (pp. 13-64). London: Sage.
Halliday, M. A. K. (1994). An Introduction to Functional Grammar. London: Edward Arnold.
Halliday, M. A. K. & Matthiessen C. M. I. M. (2004). An introduction to functional grammar. 3rd edition. London: Arnold. https://doi.org/10. 4324/9780203783771
Kheirabadi, R. and Moghaddam, S. (2012). The Linguistic Representation of Iranian and Western Actors of Iran’s Nuclear Program in International Media: A CDA Study. Theory and Practice in Language Studies. 2(10), 2183-2188. doi:10.4304/tpls.2.10.2183-2188.
Perez. M. C. (2007). Transitivity in Translating, the Interdependence of Texture and Context. Bern: Peter Lang AG.
Rahimpour, S., Sotoudehnama, E., & Sasani, F. (2018). Investigation into researcher identity in qualitative research articles in applied linguistics journals through lens of CDA. Journal of Research in Applied Linguistics. 9(2), 74-100.
Van, L. T. (2008). Discourse and Practice: New Tools for Critical Discourse Analysis. New York: Oxford University Press. https://doi.org/10.1093/ acprof:oso/9780195323306.001.0001
รายการอ้างอิงบทเพลง
กองดุริยางค์ทหารอากาศ. (2558). เพลงกรมอากาศโยธิน. ใน โน้ตเพลงกองทัพอากาศ โน้ตเพลงกองบินต่าง ๆ เพลงประจำหน่วยงาน. http://rtafband.com/new /index.php?mode=maincontent&group=54&id=51&date_start=&date_end=
_______. (2558). เพลงมาร์ชกรมเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทหารอากาศ. ใน โน้ตเพลงกองทัพอากาศโน้ตเพลงกองบินต่างๆ เพลงประจำหน่วยงาน. http:// rtafband.com/new/index.php?mode=maincontent&group=54&id=51&date_start=&date_end=
ฝ่ายกิจการพลเรือน ฐานทัพเรือสงขลา. (2563, เมษายน 1). เพลง มาร์ชฐานทัพเรือสงขลา ทัพเรือภาคที่ ๒ [วิดีโอ]. YouTube. https://www.youtube.com/watch? v=CZq3ns9lqWk
โรงเรียนทหารขนส่ง กรมการขนส่งทหารบก. (ม.ป.ป.). เพลงมาร์ชทหารขนส่ง. https:// atsschool.rta.mi.th/?page_id=166
สำนักงานประชาสัมพันธ์เขต 2. (2556). เพลงมาร์ชทหารอากาศ กองบิน 21 [วิดีโอ]. Youtube. https://www.youtube.com/watch?v=PkmZLkIwm1Q
Adidear. (2555, มิถุนายน 30). [HD] MV คนดีไม่มีวันตาย - ธีร์ ไชยเดช [วิดีโอ]. YouTube. https://www.youtube.com/watch?v=wY02J2HZ0kY
Carabao Official. (2559, มีนาคม 8). คาราบาว - ท ทหารอดทน [Official Audio] [วิดีโอ]. YouTube. https://www.youtube.com/watch?v=bdzCrgnHSL0
Grammy Gold Official. (2559, มกราคม 29). ทหารเกณฑ์ผลัดสอง - ไมค์ ภิรมย์พร : ลูกทุ่ง คู่บ้านคู่เมือง [OFFICIAL MV] [วิดีโอ]. YouTube. https://www. youtube.com/watch?v=eAZKpWefjZ8
JNL Channel. (2561, 26 มิถุนายน). มาร์ชกองบิน 5 : Wing 5 March [subtitles] [วิดีโอ]. Youtube. https://www.youtube.com/watch?v=xhNsSi2 61eA&list= TLGGI4SIZxHekXUyMzA3MjAyNA&t=6s
NCR. (2563, กันยายน 18). รัฐทหาร NCR [Official Music video] [วิดีโอ]. YouTube. https://www.youtube.com/watch?v=Czk0AMkhHZ0
Prapas Channel. (2555). เพลง ทหารของแผ่นดิน [วิดีโอ]. YouTube. https://www. youtube.com/watch?v=7LI-pC2dmyI
Rapper Tery [Official]. (2557, กุมภาพันธ์ 8). ท.ทหารอดทน - Rapper Tery Feat.CHITSWIFT (กองทัพบกMV) [Fix] [วิดีโอ]. YouTube. https://www. youtube.com/watch?v=iZSx-V9p4ug
Sattahip Today. (2564, พฤษภาคม 26). มาร์ชกองทัพภาคที่ 1 [วิดีโอ]. YouTube. https://www.youtube.com/watch?v=vjHO4waOS4k
Sing Music Channel. (2560, มีนาคม 5). เพลง อ้ายรักษาการ เจ้ารักษาใจ - อี๊ด ศุภกร [Lyric Version] [วิดีโอ]. YouTube. https://www.youtube.com/watch?v= KBmospIfDl4
Sure Entertainment. (2561, มิถุนายน 19). ทหารเกณฑ์คนจน - เอกพจน์ วงศ์นาค [ต้นฉบับ] [วิดีโอ]. YouTube. https://www.youtube.com/watch?v=9yWU_ h0kvC4
ZABATUN. (2564). ทำไมไทยแลนด์ Why Thailand | ZABATUN (Prod. by Raspo) [วิดีโอ]. YouTube. https://www.youtube.com/watch?v=8_sRIvcwcis