การทบทวนองค์ความรู้เกี่ยวกับการใช้ความรุนแรงต่อผู้หญิงที่เกี่ยวข้องกับ การดื่มแอลกอฮอล์และแนวทางการควบคุม

Main Article Content

อิทธิพงษ์ ทองศรีเกตุ

บทคัดย่อ

การทบทวนองค์ความรู้เกี่ยวกับการใช้ความรุนแรงต่อผู้หญิงที่เกี่ยวข้องกับการดื่มแอลกอฮอล์และแนวทางการควบคุม ใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยการศึกษาข้อมูลจากเอกสารงานวิจัยเกี่ยวกับการควบคุมพฤติกรรมและการใช้ความรุนแรงต่อผู้หญิงที่เกี่ยวข้องกับการดื่มแอลกอฮอล์ในฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2555-2565 มีเอกสาร บทความวิจัย ที่นำมาใช้ในการวิเคราะห์จำนวน 35 เรื่อง การวิเคราะห์ข้อมูลใช้การวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการศึกษาพบว่า การใช้ความรุนแรงต่อผู้หญิงที่เกี่ยวข้องกับการดื่มแอลกอฮอล์ประกอบด้วย 3 ปัจจัย 1) ปัจจัยด้านชีวภาพ แอลกอฮอล์ทำให้กลไกทางระบบประสาทของผู้ดื่มไม่สามารถควบคุมการแสดงออกทางพฤติกรรมที่เหมาะสม นำไปสู่การใช้ความรุนแรง และทำให้เกิดโรคจากการดื่มสุรา 2) ปัจจัยด้านจิตใจและครอบครัว เกี่ยวข้องกับการเป็นผู้ชอบใช้ความรุนแรง มีทัศนคติที่ไม่ดีต่อผู้อื่น หรือรู้สึกไม่เป็นมิตร และมองว่าการดื่มแอลกอฮอล์เป็นสิ่งที่ช่วยให้พ้นจากความทุกข์ อาศัยอยู่ในครอบครัวที่มีสมาชิกในครอบครัวดื่มแอลกอฮอล์และการใช้ความรุนแรง การมีระยะการครองคู่ที่ยาวนาน และการสื่อสารในทางลบภายในครอบครัว และ 3) ปัจจัยทางสังคมและสิ่งแวดล้อม เป็นปัจจัยที่อยู่ในระดับโครงสร้าง เช่น การยอมรับการใช้ความรุนแรง ค่านิยมทางสังคมและค่านิยมทางเพศที่ยังคงมีส่วนสนับสนุนและส่งเสริมการดื่มแอลกอฮอล์ ขณะที่แนวทางการควบคุมการใช้ความรุนแรงต่อผู้หญิงที่เกี่ยวข้องกับการดื่มแอลกอฮอล์ ประกอบด้วย การลดการเข้าถึงแอลกอฮอล์ การสร้างความตระหนักและการใช้สื่อรณรงค์ การสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความรุนแรงผ่านการทำงานของสถาบันต่าง ๆ ในสังคม การใช้แนวคิดการเปลี่ยนแปลงทางเพศภาวะ การปรับเปลี่ยนค่านิยม ความเชื่อ วัฒนธรรมบางอย่างที่หนุนเสริมให้เกิดปัญหาความรุนแรงทางเพศ และการออกกฎหมายและการออกแบบมาตรการเพื่อป้องกันความรุนแรง

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กรมควบคุมโรค. (2563). จับตาโรคและภัยสุขภาพ.นนทบุรี:กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.

กรมควบคุมโรค. (2565). แผนปฏิบัติการด้านควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ระดับชาติระยะที่ 2 (พ.ศ. 2565-2570).นนทบุรี: กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.

กฤตยา อาชวนิจกุล. (2554). เพศวิถีที่กำลังเปลี่ยนแปลงไปในสังคมไทย. วารสารประชากรและสังคม. 15(1), 43-65.

กองสุขศึกษา กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข. (2558). การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ การดื่มสุราหรือเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์สำหรับวัยทำงาน.นนทบุรี: กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข.

กัณยปริณ ทองสามสีและอิสระ ทองสามสี. (2561). ความรุนแรงที่สืบเนื่องจากการดื่มสุรา:วิเคราะห์ข่าวในหนังสือพิมพ์รายวันระหว่างปี 2549-2558. วารสารสังคมศาสตร์วิจัย. 9(1), 7-26.

จรีย์ ศรีสวัสดิ์. (2564). เติมเต็มสิทธิสตรี หยุดใช้ความรุนแรง.สืบค้น 14 พฤศจิกายน 2565 จาก https://www. thailandplus.tv/archives/301466.

จะเด็ด เชาวน์วิไล. (2564). เสวนาสื่อกับการยุติความรุนแรงในครอบครัว สุรา-โควิด ทำความรุนแรงในเด็กเพิ่มขึ้น ห่วงสื่อยังเสนอความรุนแรงซ้ำ. สืบค้น 20 พฤษภาคม 2565 จาก https://thestandard.co/media-discussion-on-ending-domestic-violence/

ดรุณี คุณวัฒนา ศรีวรรณ ยอดนิล และสมหมาย แจ่มกระจ่าง. (2560). พฤติกรรมและการป้องกันการติดสุราของสตรี.วารสารการศึกษาและการพัฒนาสังคม. 13(1), 291-305.

ธีรวุฒิ นิลเพ็ชร์. (2561). ความรุนแรงในครอบครัว:การวิเคราะห์สาเหตุและการป้องกันปัญหาในสังคมไทย.วารสารพฤติกรรมศาสตร์. 24(2), 1-20.

นารีรัตน์ บุญเนตร และหทัยชนก เผ่าวิริยะ. (2561). การป้องกันความรุนแรงจากคู่ในสตรี. วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา. 26(3), 102-111.

ณัฏฐณิชา เลอฟิลิแบร์ต. (2557). ผลกระทบจากการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์. ใน นพพล วิทย์วรพงศ์ (บ.ก.) ทศวรรษศูนย์วิจัยปัญหาสุรา สถานะความรู้เพื่อการควบคุมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์เดือนตุลา.

บุหงา ตโนภาส.(2562). การจัดการปัญหาความรุนแรงในชีวิตคู่:จากความเข้าใจสู่การเสริมสร้างพลังความเข้มแข็งให้กับสตรี. วารสารพยาบาลสภากาชาดไทย. 12(1), 80-95.

ปพิชญา สุนทรพิทักษ์ และกิติพัฒน์ นนทปัทมะดุล. (2562). ผู้หญิงกับประสบการณ์ความรุนแรงในครอบครัว กรณีศึกษามูลนิธิหญิงชายก้าวไกล. สังคมสงเคราะห์และสวัสดิการสังคม:การปลดล็อกความเหลื่อมล้ำสู่ความยั่งยืน.สืบค้น 13 พฤศจิกายน 2565 จาก https://socadmin.tu.ac.th/uploads/socadmin/file_research/ research_Split/23.pdf

ปรีชา อุปโยคิน. (2538). แนวการวิเคราะห์ปัญหาความรุนแรงในครอบครัว. วารสารสุโขทัยธรรมาธิราช. 8(3), 99-107.

พุฒิพงศ์ นวกิจบำรุง. (2559). กำกึ๊ดแม่ญิง:ชุมชนล้านนากับการจัดการสุรา. กรุงเทพฯ: ศูนย์วิจัยปัญหาสุรา คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

พูนสุข ขันธาโรจน์. (2559). การจัดการปัญหาสุราของผู้หญิงในชุมชนเมือง:กรณีศึกษาชุมชนฟ้าใหม่. ใน กำกึ๊ดแม่ญิง:ชุมชนล้านนากับการจัดการสุรา. กรุงเทพฯ: ศูนย์วิจัยปัญหาสุรา คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

เพ็ญประภา ภัทรานุกรม. (2559). “ความเหลื่อมล้ำทางเพศภาวะ: “ปัญหาความรุนแรง” ข้อท้าทายและทางออก Gender Inequalities: ‘The Problem of Violence’ Challenge and Solution”. Journal of Social Development. 18(1), 107-135.

รัฐวิชญ์ อริยพัชญ์พล พภัสสรณ์ วรภัทร์ถิระกุล. (2563). การแก้ปัญหาความรุนแรงในครอบครัวไทย.วารสารสังคมศาสตร์และมานุษยวิทยาเชิงพุทธ. 5(4), 321-335.

รุ่งอรุณ ลิ้มฬหะภณ. (2565). เติมเต็มสิทธิสตรี หยุดใช้ความรุนแรง. สืบค้น 14 พฤศจิกายน 2565 จาก https://www.thailandplus.tv/archives/301466.

วิจิตรา เลี้ยงสว่างวงศ์. (2563). แพทย์ตื่นสายปาร์ตี้ อย่าสรุกจนลืมระวังแอลกอฮอล์เป็นพิษ. สืบค้น 13 พฤศจิกายน 2565 จาก https://www.rama.mahidol.ac.th/ ramachannel/article/แพทย์เตือนสายปาร์ตี้-อย/)

ศิริปริยา ศิริสุนทร และธนัสถา โรจนตระกูล. (2565). แนวทางการขับเคลื่อนการบุติความรุนแรงต่อ ผู้หญิง เด็ก และบุคคลในครอบครัว ในพื้นที่อำเภอแม่สอด จังหวัดตาก. Journal of Roi Kaensarn Academi. 7(7), 327-340.

ศูนย์วิจัยปัญหาสุรา. (2565). รายงานสถานการนการณ์การบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในสังคมไทยประจำปี 2564. ศูนย์วิจัยปัญหาสุรา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์.

สำนักข่าวอิศรา. (2564). “วิกฤติโควิด’ปัจจัยเสี่ยงความรุนแรงในครอบครัว ทำสถิติปี 64 พุ่งกว่า 1.4 พันราย. สืบค้น 18 มิถุนายน 2565 จาก https://www.isranews.org /article/isranews-scoop/99838-isranews-v.html

สำนักงานสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ. (2560). รายงานผลการสำรวจระดับประเทศ 2560 ความรุนแรงในครอบครัวไทยต่อผู้หญิงและบุคคล. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ.

สุขุมา อรุณจิต. (2562). ปัญหาความรุนแรงทางเพศ : บทสะท้อนความไม่เสมอภาคระหว่างเพศ. รายงานสืบเนื่องการสัมมนาวิชาการเนื่องในโอกาสการสถาปนาคณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มธ. ปีที่ 65. คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์.

อรทัย วลีวงศ์. (2563). มองผ่านเลนส์วิถีเพศภาวะ เพื่อการจัดการปัญหาความรุนแรงต่อผู้หญิงที่เกี่ยวข้องกับการดื่มแอลกอฮอล์อย่างเข้าใจ. สงขลา: ศูนย์วิจัยปัญหาสุรา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.

อรทัย วลีวงศ์ ทักษพล ธรรมรังสี และจินตนา จันทร์โคตรแก้ว. (2557). ผลกระทบของการดื่มแอลกอฮอล์ต่อผู้อื่น:แนวคิด สถานการณ์ และช่องว่างของความรู้ของประเทศไทย. วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข, 8(2), 111-119.

อรอนงค์ อนิทรวิจิตร และนรินทร์ กรินชัย. (2542). ผู้หญิงและเด็ก: เหยื่อความรุนแรงในครอบครัว. กรุงเทพฯ: ปกเกล้าการพิมพ์.

อัคริมา สุขดีและธัญญลักษณ์ บังชะฎา. (2565). ปัจจัยทางสังคมกับการใช้ความรุนแรงทางเพศในประเทศไทย. วารสารธรรมศาสตร์. 41(1), 161-177.

อังคณา ช่วยค้ำชู. (2555). ความรุนแรงในครอบครัว: สาเหตุ ผลกระทบ และแนวทางการช่วยเหลือ. วารสารธรรมศาสตร์. 31(3), 130-145.

อุดมศักดิ์ แซ่โง้ว. (2564). เปิดผลวิจัยนักดื่ม 13% ทำร้ายหญิง พบช่วงโควิดความรุนแรงเพิ่ม 20% เสนอคุมเหล้า-หยุดทัศนะชายเป็นใหญ่. สืบค้น 27 พฤษภาคม 2564. จากhttps://www.thecoverage.info/news/content/1610?fbclid=IwAR 3txqsV1DzJ_xMj7reQ20_vVwJ_kTlUy6PxHl9WckJ9Klyx3MMHblN5woQ

Clark, AH. & Foy, DW. (2000). Trauma exposure and alcohol use in battered women. Violence Against Women. 6(1),37–48

Conell, R.W. & Messerschmidt, James W. (2005). Hegemonic Masculinity: Rethinking the Concept. Gender and Society. 19(6), 829-851.

Craig, S. (1992). Men, Masculinity, And the Media. California: SAGE.

Gebara, C. F., Ferri, C. P., Lourenço, L. M., Vieira, M., Bhona, F. M. & Noto, A. R. (2015). Patterns of domestic violence and alcohol consumption among women and the effectiveness of a brief intervention in a household setting: a protocol study. BMC Women’s Health. 15, 78. DOI 10.1186 /s12905-015-0236-8

Johnson, H. (2004). Key ndings from the drug use careers of female offenders’ study. Trends & Issues in Crime and Criminal Justice no. 289. Canberra: Australian Institute of Criminology. from http://www.aic.gov .au/publications/currentseries/tandi/281-300/ tandi289.aspx.

Kaufman, M. (1999). Men, feminism, and men’s contradictory experiences of power. London: SAGE Publications.

Martinez, E & Wu, D.(2009). CARE SII women’s empowerment framework summary sheet. Atlanta: CARE, from http://pqdl.care.org/sii/pages/ overview.aspx.

Miller, S.D., Duncan, B.L., Sorrell, R., Brown, G.S., & Chalk, M.B. (2006). Using outcome to inform therapy practice. Journal of Brief Therapy. 5(1), 5-22.

Morgan. (2014). Measuring gender transformative change. World Fish.

Organization for Economic Co-operation and Development. (2021). The effect of COVID-19on alcohol consumption, and policy responses to prevent harmful alcohol consumption, from https://www.oecd.org/ coronavirus/policy-responses/the-effect-of-covid-19-onalcoholcon sumption-and-policy-responses-to-prevent-harmful-alcoholcon sumption-53890024/?fbclid=lwAR1W4wThN1SdTXRv23JNwL9iEET jLqlLeJCY8boLvRGOCr90bWHTSR68RTk.

Pederson, A., Greaves, L., & Poole, N. (2015).Gender-transformative health promotion for women: a framework for action. Health Promot In.30, 140-50. doi:10.1093/heapro/dau083 pmid:2523105

Pitpitan, E.V., Kalichman, S.C., Eaton, L.A., Strathdee, S.A., & Patterson, T.(2013). HIV/STI risk among venue-based female sex workers across the globe: a look back and the way forward. Curr HIV/AIDS Rep. 10, 65–78.

Rich, E. P., Nkosi, S., & Morojele, N. K. (2015). Masculinities, alcohol consumption, and sexual risk behavior among male tavern attendees: A qualitative study in north west province, South Africa. Psychology of Men & Masculinity. 16 (4), 382-392. DOI: 10.1037/ a0038871.

Rotheram-Borus, M. J., Tomlinson, M., Roux, I. L. & Stein, J. A. (2015). Alcohol use, partner violence, and depression: A cluster randomized controlled trial among urban South African mothers over 3 years. American Journal of Preventive Medicine. 49 (5), 715–725.

Schmidt, R., Poole, N., Greaves, L.,& Hemsing, N. (2018). New Terrain: Tools to Integrate Trauma and Gender Informed Responses into Substance Use Practice and Policy. Vancouver : Centre of Excellence for Women’s Health.

Scott, J. (1990). A matter of record: Documentary sources in social research. Cambridge: Polity press

Snowden, A. J. (2015). The role of alcohol in violence: The individual, small group, community and cultural level. Review of European Studies. 7(7), 394-406.

Sudhinaraset, M., C. Wigglesworth, & D.T. Takeuchi. (2016). Social and Cultural Contexts of Alcohol Use: Influences in a Social-Ecological Framework. Alcohol Res, 38(1), 35-45.

VicHealth (2006). Two steps forward, one step back: Community attitudes to violence against women - Progress and challenges in creating safe and healthy environments for Victorian women: A summary of findings of the Violence Against Women Community Attitudes Project. Carlton South, Victoria: Victorian Health Promotion Foundation.

Webster, K., Pennay, P., Bricknall, R., Diemer, K., Flood, M., Powell, A., Politoff, V. and Ward, A. (2014). Australians’ attitudes to violence against women. Full technical report, Findings from the 2013 National Community Attitudes towards Violence Against Women Survey. Melbourne: Victorian Health Promotion Foundation. Retrieved 4 May 2020 from https://www.vichealth. vic.gov.au/ media andresources/ publications/2013-national- community-attitudes-towards-violence-against-women-survey.

Wolfson, L., Stinson, J., & Pool, N.(2020). Gender Informed or Gender Ignored? Opportunities for Gender Transformative Approaches in Brief Alcohol Interventions on College Campuses. International Journal of Environmental Research and Public Health. 17(396), 1-17.

World Bank. (2012).Publication: World Development Report 2012: Gender Equality and Development.Retrieved February 10,2021, from https://openknowledge.worldbank.org /entities/publication/51c285f6-0200-590c-97d3-95b937be3271

World Health Organization. (2010). Gender, women and primary health care renewal: a discussion paper. Geneva: World Health Organization.