ผลของการฝึกสติของนักศึกษาสาขาภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ (The Effects of Mindfulness Practice of English Major Students at Maejo University)

Main Article Content

ลลิดา ภู่ทอง

Abstract

The objective of this research is to demonstrate the effects of mindfulness practice of English major students at Maejo University. The participants were seventy two English major students who enrolled Translation 1 in the second semester of the academic year 2015. They were informed how to do mindfulness practice including 3 ways which are feeling the breath, sensing the skin while touching, and knowing the movement of the body. They had to do the practice in daily life for 66 days, then they completed the questionnaire which was the open-ended questions. The data was classified and analyzed. The results revealed that the mindfulness practice likely had beneficial results to the students’ social, emotional and academic outcomes. Mindfulness practice gave them greater calmness, emotional control, friendship, relationship, learning focus and concentration.

Article Details

Section
Research Articles

References

1. กมลณัฐ โตจินดา. (2556). การศึกษาพฤติกรรมการใช้บริการ Social Network ของนักศึกษามหาวิยาลัยเชียงใหม่.(รายงานแบบฝึกหัดการวิจัย). คณะเศรษฐศาสตร์. มหาวิยาลัยเชียงใหม่.
2. กำพล ทองบุญนุ่ม. (2553). ปาฏิหาริย์แห่งความรู้สึกตัว. กรุงเทพ : สำนักพิมพ์ธรรมดา. ดิจิตอล มีเดีย. (2556). ห่วงเด็กยุคใหม่ “ติดไลน์” พฤติกรรมแข็งกระด้าง เกิดสังคมก้มหน้าเมินสิ่งรอบข้าง.สืบค้น 11 ตุลาคม 2558, จาก : http://www.mcot.net/site/content?id=521975c9150ba00e2f00022a#.Vhoks24eos0
3. ทรัพย์ชู มหาวีโร. (2553). การศึกษาวิธีการเจริญสติในชีวิตประจำวันตามแนวทางของ ติช นัท ฮันห.(วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพ. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
4. ประเวศ วะสี. (2555). จิตตภาวนากับการเปลี่ยนแปลงขั้นพื้นฐาน. นครปฐม : ศูนย์จิตตปัญญาศึกษามหาวิทยาลัยมหิดล.
5. พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต).( 2556).พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์.พิมพ์ครั้งที่ 10, สืบค้น 14 กันยายน 2560, จาก http://84000.org/tipitaka/dic/v_seek.php?text=%CA%B5%D4&original=1
6. พระพุทธยานันทภิกขุ. (ม.ป.ป.). นวัตกรรมการเจริญสติแบบเคลื่อนไหว. พัทลุง : โรงพิมพ์นกเช้า.
7. พระพุทธยานันทภิกขุ. (2559). สติมีหลายระดับ.สืบค้น 10 กันยายน2560, จากhttp://buddhayanando.com/wordpress/?p=10317
8. พระมหาสมพงษ์ ดาศรี. (2555). การพัฒนาสติสำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนปริยัติโกศลวิทยา อำเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์.(การค้นคว้าแบบอิสระ). บัณฑิตวิทยาลัย. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
9. พีรยุทธ เจริญสุขมงคล. (2557). งานวิจัยเกี่ยวกับประโยชน์จากการฝึกสมาธิ.สืบค้น 11 ตุลาคม 2558, จากhttp://www.peerayuth.com/th_research_meditation_7.html
10. พระอาจารย์ลาตรี เคนโป เกเช ญีมา ทรักปา ริมโปเช. (2557). ซกเซ็น วิถีแห่งการตื่นรู้ [Dzogchen,The path of Self-Liberation] (กฤษดาวรรณ เมธาวิกุล). กรุงเทพ : มูลนิธิพันดารา.
11. พุทธทาสภิกขุ. (2558). วิปัสสนาระบบลัดสั้น สำหรับประชาชนทั่วไป. กรุงเทพ : ธรรมะอินเทรนด์. สืบค้น 14 กันยายน 2560, จากhttp://www.buddhadasa.org/files/pdf/b_pdf12/pdf12-49.pdf
12. มูลนิธิประเทศไทยใสสะอาด. (2558). พระบรมราโชวาท.สืบค้น 14 กันยายน 2560, จาก http://www.fact.or.th/king/sermon.
13. วิจารณ์ พานิช. (2555). วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพ : มูลนิธิสดศรี –สฤษดิ์วงศ์. สืบค้น 1 ตุลาคม 2558, จาก http://www.noppawan.sskru.ac.th/data/learn_c21.pdf
14. สุชีพ ปุญญานุภาพ.(2554). พระไตรปิฎกฉบับประชาชน. กรุงเทพ : ธรรมะอินเทรนด์. สืบค้น 14 กันยายน 2560, จากhttp://www.larnbuddhism.com/tripitaka/
15. หิมาลายัน.(2553). ธรรมะในเรือนจำ.กรุงเทพ : เอนกายพักใจ.
16. หิมาลายัน. (2556). หนังสือที่ยังไม่ได้จัดพิมพ์ (คู่มือการปฏิบัติธรรมฉบับพกพา).สืบค้น 11 ตุลาคม 2558, จาก : https://himalayana.wordpress.com/
17. หลวงพ่อเทียน จิตตสุโภ. (2550). คนแบกโลก.กรุงเทพ : นำทองการพิมพ์. (2552). พลิกโลกเหนือความคิด.กรุงเทพ : เม็ดทราย. (2558). การเห็นธรรม : ที่ระลึกการประชุมเพลิง พระอาจารย์สงคราม ธัมมวโร. กรุงเทพ :โรงพิมพ์พระพุทธศาสนาของธรรมสภา.
18. Martin, Lauren. (2014).Scientists Say It Only Takes 66 Days To Change Your Life, If You’re Strong Enough. Retrieved October5, 2015, from http://elitedaily.com/life/motivation/need-stop-bad-habit-need-66-days/784244/
19. Mindfulness Research. (2015). Retrieved October 10, 2015 from : http://mindfulnessforchildren.org/research/
20. Weare, Katherine. (2013). Developing mindfulness with children and young people :a review of the evidence and policy context. Journal of Children’s Services, Vol. 8 (2),141 - 153 .Retrieved October 10, 2015 from : http://www.emeraldinsight.com/doi/abs/10.1108/JCS-12-2012-0014