ความสัมพันธ์ระหว่างการเรียนรู้อย่างมีส่วนร่วมกับความเหนื่อยหน่ายในการเรียนของนักศึกษาสาขาวิชาศิลปะภาพพิมพ์ชาวไทย: ทุนทางจิตวิทยา สำหรับการบริหารจัดการทางจิตวิทยา

Main Article Content

หลิว เต๋อจิน

บทคัดย่อ

การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการเรียนรู้อย่างมีส่วนร่วมกับความเหนื่อยหน่ายในการเรียนของนักศึกษาสาขาวิชาศิลปะภาพพิมพ์ชาวไทย: ทุนทางจิตวิทยาสำหรับการบริหารจัดการทางจิตวิทยา มีวัตถุประสงค์ของการวิจัยดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการเรียนรู้อย่างมีส่วนร่วมและความเหนื่อยหน่ายในการเรียน  ของนักศึกษาสาขาวิชาศิลปะภาพพิมพ์ระดับมหาวิทยาลัยในประเทศไทย 2) เพื่อวิเคราะห์บทบาทของทุนทางจิตวิทยาที่มีต่อความสัมพันธ์ระหว่างการเรียนอย่างมีส่วนร่วมและความเหนื่อยหน่ายในการเรียนของนักศึกษาสาขาวิชาศิลปะภาพพิมพ์ การวิจัยครั้งนี้ดำเนินการวิจัยแบบผสมผสานระหว่างการวิจัยเชิงคุณภาพและการวิจัยเชิงปริมาณ โดยการศึกษาจากเอกสารชั้นรองเกี่ยวกับแนวคิดและทฤษฎีทุนทางจิตวิทยา การสำรวจด้วยแบบสอบถามจากกลุ่มนักศึกษาสาขาวิชาศิลปะภาพพิมพ์ในมหาวิทยาลัยต่างๆ ของประเทศไทย จำนวน 599 คน แบ่งเป็นนักศึกษาชาย 229 คน และนักศึกษาหญิง 370 คน จากนั้นนำข้อมูลมาวิเคราะห์ด้วยโปรแกรม SPSS ประกอบด้วยการใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ความถี่ และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน


ผลการวิจัยพบว่า ความสัมพันธ์ระหว่างการเรียนอย่างมีส่วนร่วมและความเหนื่อยหน่ายในการเรียนของนักศึกษาสาขาวิชาศิลปะภาพพิมพ์ ซึ่งความสัมพันธ์เชิงบวกระหว่างการเรียนรู้อย่างมีส่วนร่วมและความเหนื่อยหน่ายในการเรียนของนักศึกษาสาขาวิชาศิลปะภาพพิมพ์และอยู่ในระดับที่มีนัยสำคัญ (r =.389, p<0.001) ซึ่งเป็นความสัมพันธ์ที่ต่ำ และ มีความสัมพันธ์เชิงบวกระหว่างการเรียนรู้อย่างมีส่วนร่วมและทุน  ทางจิตวิทยาของนักศึกษาถึงระดับที่มีนัยสำคัญ (r =.717, p<0.001) ซึ่งเป็นความสัมพันธ์ในระดับปานกลาง ท้ายที่สุดยังมีความสัมพันธ์เชิงบวกระหว่างทุนทางจิตวิทยาและความเหนื่อยหน่ายในการเรียนของนักศึกษา ซึ่งมีความสัมพันธ์กันในระดับที่มีนัยสำคัญ (r =.417, p<0.001) เป็นความสัมพันธ์ในระดับปานกลาง

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

Bishop, N., & Mabry, H. (2016). Using Qualitative Data to Identify Student Learning Barriers and Alleviate Instructor Burnout in an Online Information Literacy Course. Internet Reference Services Quarterly, 21(3-4), 63-80.

Dubuc-Charbonneau, N., & Durand-Bush, N. (2018). Helping Student-athletes Learn to Self-regulate to Alleviate Burnout: A Multiple Case Study Showcasing their Challenging but Altering Experiences. Qualitative Research in Sport, 10(3), 1-18.

Goldsmith, A. H., Veum, J. R., & Darity, W. (1997). The Impact of Psychological and Human Capital on Wages. Economic Inquiry, 35(4), 815-829.

Hou, Y., & Yuan, M. (2019). Relationship between Time Management Disposition and Learning Burnout among Undergraduates in Medical University: Mediating Effect of Academic Self-efficacy. In Proceedings of the 2019 International Conference on Pedagogy, Communication and Sociology (ICPCS 2019) (pp. 304-318). Retrieved October 12, 2023, from https://www.atlantis-press.com/

Janprasert, B. (2019). A Development of Study Burnout Measurement Tool Using Anchoring Vignette. Veridian E-Journal, Silpakorn University (Humanities, Social Sciences, and Arts), 12(1), 825-845.

Luthans, F., & Youssef-Morgan, C. M. (2017). Psychological Capital: An Evidence-based Positive Approach. Annual Review of Organizational Psychology and Organizational Behavior, 4, 339-366.

Luthans, F., Avolio, B. J., Avey, J. B., & Norman, S. M. (2007). Positive Psychological Capital: Measurement and Relationship with Performance and Satisfaction. Personnel Psychology, 60(3), 541-572.

Maslach, C. (1986). Stress, Burnout, and Workaholism. In R. Kilburg, R. Thoreson, P. Nathan (Eds.), Professionals in Distress: Issues, Syndromes and Solutions in Psychology (pp.53-75). Retrieved October 2, 2023, from https://www.apa.org/search?query=Professionals%20in%20Distress:%20Issues,%20Syndromes%20and%20Solutions%20in%20Psychology

Maslach, C., & Jackson, S. E. (1981). The Measurement of Experienced Burnout. Journal of Organizational Behavior, 2(2), 99-113.

Ministry of Education. (2002). National Education Act B.E. 2542 (1999) and Amendments (Second National Education Act B.E.2545 (2002). Retrieved May 3, 2013, from https://www.sl.ac.th/addons/qa/9.pdf

Phongpisanrat, Ch. (2022). The Study of Learning Burnout of Mahasarakham University Students. Journal of Educational Measurement Mahasarakham University, 28(2), 95-110.

Stevens, L. A. et al. (2017). Designing an Individualized EHR Learning Plan for Providers. Applied Clinical Informatics, 8(3), 924-935.

Xiaohua, K. (2018). The Relationship between College Students’ Mental Health and Study Burnout. (Master's Thesis). Shandong Normal University. Jinan City. China.