การประเมินคุณค่านวัตกรรมบริการในธุรกิจระบบราง

ผู้แต่ง

  • ชีวัน ทองสอดแสง คณะบริหารธุรกิจและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น

DOI:

https://doi.org/10.14456/ajmt.2023.11

คำสำคัญ:

คุณค่า, นวัตกรรมบริการ , ธุรกิจระบบราง

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินคุณค่านวัตกรรมบริการในธุรกิจระบบราง และศึกษาอิทธิพลของการจัดการทรัพยากรเชิงรุก การสร้างคุณค่าร่วมกัน นวัตกรรมบริการขนส่ง ที่ส่งผลต่อคุณค่านวัตกรรมบริการในธุรกิจระบบราง การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ใช้บริการธุรกิจระบบรางในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 400 คน โดยวิธีการสุ่มตามสะดวก ใช้แบบสอบถามออนไลน์เป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล ทดสอบสมมติฐานโดยการวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้าง (AMOS Analysis) ผลการวิจัยพบว่า โมเดลสมการโครงสร้างที่ได้ปรับปรุงและพัฒนาขึ้นมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ ซึ่งการจัดการทรัพยากรเชิงรุกมีอิทธิพลทางตรงต่อการสร้างคุณค่าร่วมกันและนวัตกรรมการบริการขนส่ง และการจัดการทรัพยากรเชิงรุกมีอิทธิพลทางอ้อมต่อคุณค่านวัตกรรมบริการธุรกิจระบบรางโดยผ่านการสร้างคุณค่าร่วมกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.001 ทั้งนี้ คุณค่านวัตกรรมบริการที่เกิดขึ้นนั้น เป็นสิ่งที่ผู้ใช้บริการรับรู้ได้ถึงคุณค่าจากระบบบริการขนส่งทางรางเป็นส่วนหนึ่งในชีวิตประจำวัน และรู้สึกเป็นบุคคลสำคัญของธุรกิจ สะท้อนถึงประสบการณ์ที่สร้างสรรค์การให้บริการที่ใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ การมีส่วนร่วมในกิจกรรมที่นำไปสู่คุณค่านวัตกรรมบริการที่สร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันให้แก่ธุรกิจระบบรางได้อย่างมีประสิทธิภาพ

References

กนกกาญจน์ เสน่ห์ นมะหุต. (2561). การวิเคราะห์การยอมรับการใช้บริการธนาคารดิจิทัลโดยใช้ทฤษฎีการแพร่กระจายนวัตกรรม. วารสารพฤติกรรมศาสตร์, 24(2), 43-64.

กรมการขนส่งทางราง. (2563). ปริมาณผู้ใช้บริการระบบรางในประเทศไทย พ.ศ. 2558-2562. [ฐานข้อมูล]. สืบค้นจาก https://www.drt.go.th/statistics

กัญจพร วงศ์ศิริสิน. (2557). คุณค่าของผลิตภัณฑ์ที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้ออาหารสุนัข Natural & Premium แบรนด์ V CARE U ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร. (การค้นคว้าอิสระปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยกรุงเทพ).

ก้านทอง บุหร่า. (2559). แนวทางการปรับปรุงการรถไฟแห่งประเทศไทย. วารสารวิจัยและพัฒนา วไลยอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์, 11(2), 279-288.

การดี เลียวไพโรจน์. (2552). การบริหารและการสร้างนวัตกรรมด้านการบริการ. [ฐานข้อมูล]. สืบค้นจาก http://www.thaitrainingzone.com

กิตติคุณ แสงนิล. (2562). การพัฒนาต้นแบบเชิงกลยุทธ์การสร้างคุณค่าร่วมเพื่อความยั่งยืนของวิสาหกิจชุมชนในเขตเพชรสมุทรคีรี. (วิทยานิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศิลปกร).

จารุวรรณ เมืองเจริญ และ ประสพชัย พสุนนท์. (2562). การสร้างสรรค์นวัตกรรมกระบวนการทำงานที่มีต่อประสิทธิผลการปฏิบัติงานของพนักงานร้านสะดวกซื้อในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารเศรษฐศาสตร์และกลยุทธ์การจัดการ, 6(2), 73-88.

ชัชพล ทรงสุนทรวงศ์. (2559). นวัตกรรมการบริการ : กลยุทธ์ที่สร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันขององค์การธุรกิจบริการ. วารสารการจัดการสมัยใหม่, 14(2), 13-24.

ชุติมา เกศดายุรัตน์. (2562). การสร้างคุณค่าร่วมกันและกลยุทธ์การบริหารความสัมพันธ์บนสื่อสังคมออนไลน์. BU Academic Review, 18(1), 132-147.

โชคชัย สุทธาเวศ. (2556). นวัตกรรม : ข้อพิจารณาเชิงศาสตร์กับองค์กรและการบริหารนวัตกรรมในประเทศไทย. สถาบันทรัพยากรมนุษย์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. Journal of HRintelligence, 8(2), 52-77.

ดาวศุกร์ บุญญะศาสนต์ และ ชงค์สุดา โตท่าโรง. (2563). นวัตกรรมการบริการกับการสร้างคุณค่าในธุรกิจโรงแรม. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ นายเรืออากาศ, 8, 62-75.

ธนกฤต วงศ์มหาเศรษฐ์ และ พรทิพย์ ชุ่มเมืองปัก. (2563). แนวทางการจัดการการสร้างคุณค่าร่วมในภาคธุรกิจอุตสาหกรรม. วารสารวิชาการบริหารธุรกิจ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี, 9(1), 134-153.

บุญชม ศรีสะอาด. (2554). การวิจัยเบื้องต้น (พิมพ์ครั้งที่ 9). กรุงเทพฯ: บริษัทสุวีริยาสาส์น จำกัด.

ปฐมพร ศรีมณี และ นันทนา อุ่นเจริญ. (2563). นวัตกรรมการบริการที่มีผลต่อการตัดสินใจเข้าพักโรงแรมบูติคใน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด, 14(1), 159-171.

ภูวณ อัษวกรนิฤางกูร. (2562). การปรับตัวของผู้ให้บริการขนส่งโลจิสติกส์ไทยในยุคดิจิทัล. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชพฤกษ์, ฉบับเสริม, 16-30.

รพีพรรณ วงศ์ประเสริฐ. (2556). การสร้างคุณค่าร่วม แนวปฏิบัติที่ดีสู่สังคม. วารสารนักบริหาร, 33(3), 75-81.

รุจิรา เหลืองศักดาพิชญ์. (2562). ความสามารถในนวัตกรรมด้านการให้บริการและผลการดำเนินงานในการให้บริการ หลักฐานจากธุรกิจโรงแรมในประเทศไทย. จุฬาลงกรณ์ธุรกิจปริทัศน์, 42(1), 163, 43-67.

วงศกร ยุกิจภูติ. (2559). ปัจจัยที่มีผลต่อความผูกพันในแอปพลิเคชัน LINE ของผู้ใช้งานในกรุงเทพมหานคร. (วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต, สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์).

วรชนก เต็งวงษ์วัฒนะ. (2558). คุณภาพการให้บริการ การตระหนักถึงราคา ภาพลักษณ์ตราสินค้า และการบอกต่อที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการขนส่งพัสดุของบริษัทเอกชนภายในประเทศไทยของผู้บริโภคในกรุงเทพมหานคร. (การค้นคว้าอิสระปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยกรุงเทพ).

วลัยลักษณ์ รัตนวงศ์, ณัฐธิดา สุวรรณโณ, และธีรศักดิ์ จินดาบถ. (2557). การวัดนวัตกรรมการบริการของธุรกิจท่องเที่ยวไทย: วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม. วารสารวิทยาการจัดการ, 31(1), 119-146.

ศิวฤทธิ์ พงศกรรังศิลป์. (2557). กระบวนการสร้างคุณค่าร่วมกัน: กระบวนทัศน์การตลาดใหม่ในยุคสังคมออนไลน์. สงขลานครินทร์ ฉบับสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 20(3), 1-26.

ศิวะนันท์ ศิวพิทักษ์. (2563). ทฤษฎีด้านนวัตกรรม. วารสารเซนต์จอห์น, 23(32), 251-265.

สกล บุญสิน. (2561). รูปแบบการให้บริการที่ตอบสนองความต้องการของผู้ใช้บริการของการรถไฟแห่งประเทศไทย. วารสารการจัดการภาครัฐและภาคเอกชน, 119-148.

สมบัติ นามบุรี. (2562). นวัตกรรมและการบริหารจัดการ. วารสารวิจัยวิชาการ, 2(2), 121-134.

สมพิศ ทองปาน. (2559). HR เชิงรุกในยุคของการเปลี่ยนแปลง. วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์, 10(3), 245-258.

สำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร. (2562). การพัฒนาการขนส่งและจราจร. [ฐานข้อมูล]. สืบค้นจาก https://www.otp.go.th/

สุจิตรา วงษ์สด, ศักดิ์ชาย นาคนก, และ สะอาด บรรเจิดฤทธิ์. (2560). การพัฒนาแบบจำลองขององค์กรแห่งนวัตกรรมขององค์กรธุรกิจ ในอุตสาหกรรมโลจิสติกส์. วารสารวิจัยและพัฒนา วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์, 12(3), 335-345.

สุทิน ฤทธิ์ทอง. (2559). การสร้างนวัตกรรมองค์กรของผู้ประกอบการธุรกิจอุตสาหกรรมด้านบริการในการเข้าสู่ตลาดอาเซียนระหว่างไทย-พม่า. (วิทยานิพนธ์ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยบูรพา).

สุรเกียรติ ธาดาวัฒนาวิทย์. (2563). อิทธิพลของพฤติกรรมการสร้างคุณค่าร่วมกันที่มีต่อความพึงพอใจและภาพลักษณ์ของสถาบันอุดมศึกษาด้านอุตสาหกรรมบริการ. วารสารวิทยาลัยดุสิตธานี, 14(2), 502-517.

อุมาวดี เดชธำรง และ วิระพงศ์ จันทร์สนาม. (2562). กรอบแนวคิดเกี่ยวกับปัจจัยเชิงสาเหตุและปัจจัยผลลัพธ์ความผูกพันอย่างลึกซึ้งของลูกค้า. วารสารการจัดการสมัยใหม่, 17(2), 1-8.

Brown, M. G. (1991). Baldrige award winning quality: how to interpret the Malcolm Baldrige award criteria. White Plains, NY: Quality Resource.

Fornell, C., & Larcker, D. F. (1981). Evaluating structural equation models with unobservable variables and measurement error. Journal of Marketing Research, 18(1), 39–50.

Hair J. F., Black, W. C., Babin B. J., Anderson, R. E., & Tatham, R. L. (2006). Multivariate data analysis (6th ed). New Jersey: Pearson Education International.

Hair, J. F., Black, W. C., Babin, B. J., Anderson, R. E., & Tatham, R. L. (2010). Multivariate data analysis (7th ed.). Upper Saddle River: Prentice Hall.

Kalipci, M. 2023. The mediation model of learning organization, technology acceptance and service innovation: part I. The Learning Organization, 1-18.

Lundbland, J. P. (2003). A review and critique of rogers’ diffusion of innovation theory as it applies to organizations. Organization Development Journal, 21(4), 50-64.

Narvaiza, L., Campos, J.A., Martin-Pena, M.L., & Diaz-Garrido, E. (2023). Characterizing digital service innovation: phases, actors, functions and interactions in the context of a digital service platform. Journal of Service Management, 1-27.

Nunnally, J. C., & Bernstein, I. H. (1994). Psychometric theory (3rd ed.). New York: McGraw-Hill Series in Psychology, McGraw-Hill, Inc.

Raeisi, S., & Lingjie, M. (2017). The importance of customer engagement and service innovation in value co-creation. International Scholarly and Scientific Research & Innovation, 11(4), 775-780.

Samuelsson, P. 2023. The effects of innovation types and customer participation on organizational performance in complex services. European Journal of Marketing, 57(13), 27-55.

Schumacher, R. E., & Lomax, R. G. (2016). A beginner’s guide to structural equation modeling (4th ed.). New York: Routledge.

Spraggon, M. & Bodolica, V. (2008). Knowledge creation process in small innovative hi-tech firms. Management Research News, 31, 879-894.

Tang, X., Wang, M., & Li, H. 2023. Understanding the effects of service innovation capability on firm performance in AEC industry: mediating role of business model. Engineering, Construction and Architectural Management, 1-19.

Wang, F. J., Chiu, W., Tseng, K. F., & Cho, H. 2023. The role of employee-employee collaboration and employee-customer collaboration in fitness service innovation: a comparison of frontline and non-frontline employee. International Journal of Sprot Marketing and Sponsorship, 1-21.

Yamane, T. 1967. Statistics, an introductory analysis (2nd ed.). New York: Harper and Row.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-12-29

How to Cite

ทองสอดแสง ช. (2023). การประเมินคุณค่านวัตกรรมบริการในธุรกิจระบบราง . วารสารวิชาการเทคโนโลยีการจัดการ, 4(2), 154–168. https://doi.org/10.14456/ajmt.2023.11