การบริหารความเสี่ยงในองค์กรยุคใหม่ : การเปลี่ยนแปลงด้านเทคโนโลยีดิจิทัล

ผู้แต่ง

  • อรวรรณ เชิงรัมย์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา
  • ธิญาดา แต้วจอหอ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา
  • จิรณัฐ เหมราช มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา
  • สุรีพร เชียงเหนือ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา
  • พร้อมพร ภูวดิน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา
  • คุณากร ไวยวุฒิ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ

DOI:

https://doi.org/10.14456/ajmt.2023.17

คำสำคัญ:

การบริหารความเสี่ยง, การเปลี่ยนแปลงด้านเทคโนโลยีดิจิทัล, องค์กรยุคใหม่

บทคัดย่อ

บทความนี้มีจุดประสงค์ที่จะอภิปรายการเปลี่ยนแปลงในการดำเนินธุรกิจขององค์กรต่าง ๆ ซึ่งเทคโนโลยีมีอิทธิพลต่อการดำเนินงานเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบันทั้งในด้านเครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ ทำให้ส่งผลกระทบและโอกาสในการดำเนินกิจการให้บรรลุเป้าหมายสูงสุดขององค์กรได้ ดังนั้น องค์กรต้องมีการจัดการความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นจากการเปลี่ยนเปลงในอนาคต ผู้ศึกษามีจุดประสงค์ที่จะนำเสนอแนวคิดในการจัดการความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี เพื่อให้องค์กรสามารถรับมือกับความเสี่ยงในด้านต่าง ๆ ได้ซึ่งได้นำแนวคิดการบริหารความเสี่ยง โดยการรวบรวมข้อมูลมาสังเคราะห์ความรู้ตามหลักการวิชาการ เพื่อเป็นแนวทางในการดำเนินการกำหนดประเด็นปัญหาทางการบริหารความเสี่ยงในองค์กร เพื่อให้เห็นภาพรวมที่ควรดำเนินการกับการบริหารความเสี่ยง ได้แก่ การทำความเข้าใจวัตถุประสงค์ของธุรกิจ การสำรวจความเสี่ยงการค้นหาและคัดกรอง การวิเคราะห์ความเสี่ยง รวมถึงการประเมินและจัดลำดับความเสี่ยง เพื่อเป็นแนวทางและสามารถนำไปใช้ในการแก้ไขปัญหา เป็นประโยชน์ต่อการดำเนินงานขององค์กรสามารถป้องกันและลดความเสี่ยงในด้านต่างๆ สร้างความปลอดภัยในการดำเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ

References

กมลพร บุญนนทารมย์ และ ศันสนีย์ จะสุวรรณ์. (2564). การบริหารความเสี่ยงอย่างมืออาชีพ Professional Risk Management. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, (14), 992-1001. สืบค้นจาก http://www.journalgrad.ssru.ac.th/index.php/8thconference/article/view/2523

จุฑามน สิทธิผลวนิชกุล. (2561, มิถุนายน). แนวทางการบริหารความเสี่ยงองค์กร COSO Enterprise Risk Manage-ment 2017. วารสารวิชาชีพบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 14(42), 111-124. สืบค้นจาก http://www.jap.tbs.tu.ac.th/files/Article/Jap42/Full/JAP42Juthamon.pdf

ธงชัย ทองมา และ ธีระวัฒน์ จันทึก. (2558). การบริหารจัดการความเสี่ยงกับการบริหารการเปลี่ยนแปลง : องค์การในยุคโลกาภิวัฒน์. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยศิลปากร, 8 (3), 596-621. สืบค้นจาก https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/48321

ธีระศักดิ์ เปี่ยมสุภัคพงศ์, ธีระรัตน์ เปี่ยมสุภัคพงศ์, พรพรรณ สุวรรณประทีป, สุกานดา โรจนประภายนต์, วัฒนา เสรีคุณากุล. (2563). การเรียนรู้เพื่อรับมือกับการบริหารความเสี่ยงของธุรกิจในบริบทใหม่ยุคอุตสาหกรรม 4.0. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยธนบุรี, 13 (2), 171-181. สืบค้นจาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/trujournal/article/view/193524/148978

นภา นาคแย้ม. (2565). การบริหารความเสี่ยงเพื่อความสำเร็จขององค์กร : การนำแบบจำลองธุรกิจแคนวาสมาใช้ในการระบุความเสี่ยง. วารสารวิทยาลัยบัณฑิตศึกษาการจัดการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 16 (1), 124-139. สืบค้นจาก https://so04.tcithaijo.org/index.php/mbakkujournal/article/view/265987/179454

NINA. (2565, กุมภาพันธ์ 17). ตัวอย่างการทุจริตในองค์กรช่วงโควิด-19 และวิธีป้องกันเบื้องต้น. [เว็บเพจ]. สืบค้นจาก https://www.orionforensics.com/th/2022/02/17/corporate-fraud-and-covid-19-th/

พระครูวิลาศกาญจนธรรม, พระสมุห์สิปปภาส อนันต์ยศหงส์ษา. (2565). การบริหารทรัพยากรมนุษย์เชิงกลยุทธ์สู่ความสำเร็จขององค์กรยุคใหม่. วารสาร มจร กาญจนปริทรรศน์, 2 (3), 152-162. สืบค้นจาก https://so05.tci-thaijo.org/index.php/Kanchana-editor/article/view/260295/176383

รัฐพงศ์ รัตนพันธ์ศรี. (2562). ความสอดคล้องระหว่างการบริหารความเสี่ยงในหน่วยงานภาครัฐกับการบริหารความเสี่ยงตามกรอบแนวคิด COSO ERM 2017 : กรณีศึกษาสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน (ส่วนกลาง). วารสารสภาวิชาชีพบัญชี, 1 (3), 24-43. สืบค้นจาก https://so02.tcithaijo.org/index.php/JFAC/article/view/206217/160769

วิชิต สุรดินทร์กูร. (2565). การบริหารงานองค์การสมัยใหม่ของสำนักงานบัญชีเพื่อการเปลี่ยนแปลงไปสู่องค์การดิจิทัล. วารสารรัชต์ภาคย์, 16 (46), 576-593. สืบค้นจาก https://so05.tci-thaijo.org/index.php/RJPJ/article/view/258463/174978

สุฏิกา รักประสูติ และ นงนิภา ตุลยานนท์. (2563). การจัดการความเสี่ยงของการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ : ความสำเร็จของธุรกิจเกิดใหม่ในยุคเศรษฐกิจดิจิทัล. วารสารสังคมศาสตร์บูรณาการ, 61-78. สืบค้นจาก https://so02.tci-thaijo.org/index.php/isshmu/article/view/243837/165429

สถาบันนวัตกรรมและธรรมาภิบาลข้อมูล. (2565, พฤศจิกายน 18).ไขข้อสงสัย! Digital Transformation คืออะไร และตัวอย่างในไทย?. [เว็บบล็อก]. สืบค้นจาก https://digi.data.go.th/blog/what-is-digital-transformation/

สุรเดช จองวรรณศิริ. (2561). การบริหารความเสี่ยงด้วย COSO-ERM 2017. [เว็บบล็อก]. สืบค้นจาก https://www.rama.mahidol.ac.th/risk_mgt/th/article/08162019-1041

Job DB by Seek. (2566). ก้าวสู่วัฒนธรรมองค์กรยุคใหม่ Digital Organization. [เว็บบล็อก] สืบค้นจาก http://surl.li/iwtfa

RS GROUP. (2563). RS เดินหน้าก้าวสู่ความสำเร็จด้วยกลยุทธ์การจัดการบริหารองค์กรยุคใหม่. [เว็บบล็อก] สืบค้นจาก https://shorturl.asia/TXD4F

Society of Corporate Compliance and Ethics, Health Care Compliance Association. (2563). COM- PLIANCE RISK MANAGEMENT: APPLYING THE COSO ERM FRAMEWORK. [บทความอิเล็กทรอนิกส์] . สืบค้นจาก https://www.wlrk.com/docs/Compliance-Risk-Management-Applying-the-COSO-ERM-Framework_%281%29.pdf

Strategic Decision Solutions. (2023). COSO ERM Framework - Background & Overview. [Webblog]. Retrieved from https://strategicdecisionsolutions.com/coso-erm-framework

Universal CPA Review. (2565). Review And Revision. [เว็บบล็อก]. สืบค้นจาก https://www.universalcpareview.com/ask-joey/what-is-the-review-and-revision-component-of-the-coso-erm-framework/

Zendesk. (2564). Digital Transformation คืออะไร สำคัญแค่ไหนต่อการทำธุรกิจ?. [เว็บบล็อก]. สืบค้นจาก https://www.dmit.co.th/th/zendesk-updates-th/what-is-digital-transformation/

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-12-29

How to Cite

เชิงรัมย์ อ., แต้วจอหอ ธ., เหมราช จ., เชียงเหนือ ส., ภูวดิน . พ., & ไวยวุฒิ ค. (2023). การบริหารความเสี่ยงในองค์กรยุคใหม่ : การเปลี่ยนแปลงด้านเทคโนโลยีดิจิทัล. วารสารวิชาการเทคโนโลยีการจัดการ, 4(2), 239–250. https://doi.org/10.14456/ajmt.2023.17