การพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาอัลฟิกฮฺ เรื่องการสมรสในอิสลามโดยใช้บทบาทสมมติ สำหรับนักเรียนชั้นอิสลามศึกษาตอนกลางปีที่ 3
คำสำคัญ:
การจัดการเรียนรู้, บทบาทสมมติ, คิดวิเคราะห์, ศาสนาอิสลาม , การสมรสบทคัดย่อ
จุดประสงค์ การศึกษาวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาและหาประสิทธิภาพของแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาอัลฟิกฮฺ เรื่องการสมรสในอิสลามโดยใช้บทบาทสมมติ ตามเกณฑ์มาตรฐาน 70 / 70
วิธีการศึกษา กลุ่มเป้าหมาย ที่ใชในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นอิสลามศึกษาตอนกลางปที่ 3 โรงเรียนพัฒนาวิทยากร ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา2565 จำนวน 1 หอง 20 คน เครื่องมือที่ใชในการวิจัย ได้แก 1) แผนการจัดการเรียนรูโดยการใชบทบาทสมมติ
ผลการศึกษา ผลการวิจัยพบว่า ประสิทธิภาพของแผนการจัดการเรียนรูเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์โดยการใชบทบาทสมมติ ที่สร้างขึ้นมีค่าประสิทธิภาพสู่งกวาเกณฑที่กำหนด 70/70 เทากับ 80.13/81.25
การนำผลวิจัยไปใช้ แผนการจัดการเรียนการสอนโดยใช้บทบาทสมมติ สามารถพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ของผู้เรียนดังนั้นเทคนิคนี้สามารถนำไปใช้กับรายวิชาต่าง ๆ ของอิสลามศึกษาสำหรับนักเรียนที่ขาดทักษะการคิดวิเคราะห์ทุกระดับ
References
Binsulatan, A. (2022). The Development of Critical Thinking Skill by Using Question from Storytelling on al-Akhlaq Subject for Primary School Students Year 3[Unpublished master’s thesis].Yala Rajabhat University.
Khaemanee, T. (2017). rôop bàepgaan riiangaan sŏn·taang lêuuaktêelàak lăai [Variousalternative teaching formats (9thEd.)]. Chulalongkorn UniversityPress.
Maseng, M. (2017). The Result of Learning Management of al-Fiqh Subject on The Development Islamic Practicing during the Time We Are Sick in Islam by Using Role Playing for Primary School Students Year 6 in Ban Kled Kaew School[Unpublished master’s thesis].Yala Rajabhat University.
Ministry of Education. (2003). làksòotìt-sà-laamsèuk-săa·pút-tá-sàk-gà-ràat·sŏng-pan-hâa-rói-sèe-sìp-hòkIslamic[Istudies Curriculum 2003 (Revised Edition 2012)]. Office of Private Education Ministry of Education. https://www.skprivate.go.th/group/detail/96
Phuwittayaphan, A. (2011). Individual development (2ndEd). HR Center Co., Ltd.
Srimahasarn, A. (2002). grà-buuangaan jàt tamlàk sòotsà-tăan sèuk-săa·naew kítsòobpà-dtì-bàt[The process of creating a school curriculum: ideas into practice]. Book Point.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 วารสารอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความทุกเรื่อง ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารอิสลามศึกษาเป็นแนวคิดของผู้เขียน มิใช่เป็นความคิดเห็นคณะผู้จัดทำและมิใช่ความรับผิดชอบของคณะวิทยาการอิสลาม กองบรรณาธิการไม่สงวนสิทธิ์การคัดลอก แต่ให้มีการอ้างอิงแสดงที่มา