องค์ความรู้โรคซึมเศร้าและจิตวิทยาเชิงบวกสำหรับนักจิตวิทยา

Main Article Content

ต้นสาย แก้วสว่าง

บทคัดย่อ

ปัจจุบันสังคมได้ให้ความสนใจกับโรคซึมเศร้ามากขึ้นเนื่องจากโรคซึมเศร้าเป็นปัญหาสุขภาพจิตซึ่งพบได้บ่อย นักจิตวิทยาในฐานะที่เป็นบุคลากรทางสุขภาพจิตจึงเป็นที่คาดหวังของสังคมในการช่วยเหลือเยียวยาดังนั้นนักจิตวิทยาควรจะมีทักษะการประเมินผู้ป่วยทางจิตเวช โดยองค์ความรู้เกี่ยวกับโรคซึมเศร้าก็เป็นหนึ่งในปัจจัยที่ทำให้ทักษะการประเมินผู้ป่วยทางจิตเวชมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้หน้าที่สำคัญของนักจิตวิทยาอีกด้านหนึ่งคือการเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับโรคซึมเศร้าซึ่งเป็นองค์ความรู้ที่สังคมสนใจแต่ในขณะเดียวกันสังคมก็ขาดความเข้าใจที่ถูกต้อง บทความนี้มีจึงวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอความรู้เกี่ยวกับโรคซึมเศร้าในประเด็นสำคัญสำหรับนักจิตวิทยาโดยมีขอบเขตเกี่ยวกับ เกณฑ์การวินิจฉัย การวินิจฉัยแยกโรค การดำเนินโรค การรักษาทางยาและผลข้างเคียง การรักษาด้วยจิตบำบัด และ ประยุกต์ใช้จิตวิทยาทางบวกในการดูแลผู้ป่วย

Article Details

บท
นิพนธ์ต้นฉบับ

References

กรมสุขภาพจิต. (2563). บริการ e-Reports กรมสุขภาพจิต. สืบค้น 17 มีนาคม 2563, จากhttps://www.dmh.go.th/report/.
กลุ่มศูนย์การแพทย์เฉพาะทางด่านอาชีวเวชศาสตร์และเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม โรงพยาบาลนพรัตนราชธานี. (2558).ระบบค้นหาข้อมูล ICD 10 - โรคจากการทำงาน (OM). สืบค้นเมื่อ 31 พฤษภาคม 2563. จากเว็บไซต์: http://occmednop.com/nrhicd/icd/icd_folder.php?icd_id=73
จตุรพร แสงกูล. (2561). เอกสารการสอน เรื่อง Approach to depressive and manic patients รายวิชา 388-421, 388-422, 388-423 สุภาพและโรคของผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ1,2,3 หลักสูตรแพทยศาสตร์บัณฑิต. ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ปีการศึกษา 2561.
หญิงณหทัย วงศ์ปการันย์.(2553). เอกสารการสอน เรื่อง บทนำกระบวนวิชาจิตเวชศาสตร์ Introduction to Psychiatry.หลักสูตรแพทยศาสตร์บัณฑิต. ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ปีการศึกษา 2553.
ธรณินทร์ กองสุข, สุวรรณา อรุณพงค์ไพศาล, ศุภชัย จันทร์ทอง, เบญจมาศ พฤกษ์กานนท์, สุพัตรา สุขาวห และจินตนา ลี้จงเพิ่มพูน. (2561). ความเที่ยงตรงตามเกณฑ์การวินิจฉัยโรคซึมเศร้า ของแบบประเมินอาการซึมเศร้า 9 คำถาม ฉบับปรับปรุงภาษากลาง. วารสารสมาคมจิตแพทย์แห่งประเทศไทย, 63(4), 321-334.
นันทวัช สิทธิรักษ์ ,กมลเนตร วรรณเสวก, กมลพร วรรณฤทธิ์, ปนต ผู้กฤตยาคามี, สุพร อภินันทเวช, พนม เกตุมาน. (2558). จิตเวช ศิริราช DSM-5. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล.
มาโนช หล่อตระกูล และ ปราโมทย์ สุคนิชย์. (2558). จิตเวชศาสตร์ รามาธิบดี. (พิมพ์ครั้งที่ 4).กรุงเทพฯ; ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทย์ศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล.
มาโนช หล่อตระกูล, ธนิตา ตันตระรุ่งโรจน์, นิดา ลิ้มสุวรรณ. (2559). ตำราพฤติกรรมศาสตร์ทางการแพทย์. (พิมพ์ครั้งที่ 2).กรุงเทพฯ; ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทย์ศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล.
มุกดา ศรียงค์. (2522). แบบประเมินภาวะซึมเศร้าของเบ็ค (Beck Depression Inventory IA [BDI-IA]). กรุงเทพฯ: คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัย รามคำแหง.
สฤษดิ์พงศ์ แซ่หลี และ ปิยะภัทร เดชพระธรรม. (2560). การศึกษาความตรงเชิงเกณฑ์ของแบบสอบถาม PHQ-9 และ PHQ-2 ฉบับภาษาไทย ในการคัดกรองโรคซึมเศร้าในผู้สูงอายุชาวไทย. เวชศาสตร์ฟื้นฟูสาร, 7(1), 30-37.
สุนันทา ฉันทกาญจน์, ปเนต ผู้กฤตยาคามี และ ณัฏฐา สายเสวย. (2557). ความแม่นตรงของคำถามคัดกรองภาวะซึมเศร้า 2 คำถาม ที่ใช้กับผู้ป่วยในหน่วยรับปรึกษาภาวะทางจิตเวช โรงพยาบาล ศิริราช. วารสารสมาคมจิตแพทย์แห่งประเทศไทย, 59(1), 51-61.
อุมาพร ตรังคสมบัติ, ดุสิต ลิขนะพิชิตกุล. (2539). อาการซึมเศร้าในเด็ก: การศึกษาโดยใช้ Children’s Depression Inventory. วารสารสมาคมจิตแพทย์แห่งประเทศไทย, 41(4), 221-30.
อุมาพร ตรังคสมบัติ, วชิระ ลาภบุญทรัพย์, ปิยลัมพร หะวานนท์. (2540). การใช้ CES-D ในการคัดกรองภาวะซึมเศร้าในวัยรุ่น. วารสารสมาคมจิตแพทย์แห่งประเทศไทย, 42(1), 2-13.
Bolier Linda, Merel Haverman, Gerben J Westerhof, Heleen Riper, Filip Smit & Ernst Bohlmeijer (2013). Positive psychology interventions: a meta-analysis of randomized controlled studies. BMC Public Health, 13(Suppl. 119), Donald W. Black, M.D., Jon E. Grant, M.D., M.P.H., J.D. (2014). DSM-5 Guidebook: The Essential Companion to the Diagnostic and Statistical Manual of Mental Disorders, Fifth Edition. American Psychiatric Pub (pp.110)
D’raven, L.L. & Pasha-Zaidi, N. (2014). Positive Psychology Interventions: A Review for Counselling Practitioners. Canadian Journal of Counselling and Psychotherapy. 48(4), 383-408.
Gartlehner G, Gaynes BN, Amick HR, Asher G, Morgan LC, Coker-Schwimmer E, et al. (2015). Nonpharmacological Versus Pharmacological Treatments for Adult Patients With Major Depressive Disorder [Internet]. Agency for Healthcare Research and Quality (US), 15(Suppl. 16), -EHC031-EF.
Huffman JC, DuBois CM, Healy BC, Boehm JK, Kashdan TB, Celano CM, et al. (2014) Feasibility and utility of positive psychology exercises for suicidal inpatients Gen Hosp Psychiatry. j.genhosppsych, 36(Suppl. 1), 88-94.
King Vanessa. (2016). 10 keys to happier living. Headline publishing group. An Hachette UK Company.Carmelite House. Embankment. London.
Manote Lotrakul, Sutida Sumrithe, and Ratana Saipanish. (2008). Reliability and validity of the Thai version of the PHQ-9. BMC Psychiatry, 10 217–223. Published online 2008 Jun 20. Doi:10.2147/NDT.S56680.
Messer SB. (2011). Introduction to the Special Issue on Assimilative Integration. J Psychotherapy Integration;11:1-4.
McQueen D, & Smith PS. (2015). NICE recommendations for psychotherapy in depression: Of limited clinical utility. Psychiatriki, 26(Suppl. 3), 97-188.
Parks, A. C., & Biswas-Diener, R. (2014). Positive interventions: Past, present and future. In T. Kashdan & J. Ciarrochi (Eds.), Mindfulness, acceptance, and positive psychology: The seven foundations of well-being (pp. 140-165). Oakland, CA: New Harbinger.
Seligman, M. E. P. (2011). Flourish: A visionary new understanding of happiness and well-being, from APA PsycInfo Database:book. Retrieved เดือน 15 Apr 2019 from http://www.boy.com/x1.htm.
Sin Nancy L.& Sonja Lyubomirsky. (2009). Enhancing well‐being and alleviating depressive symptoms with positive psychology interventions: a practice‐friendly meta‐analysis (2009). journal of clinical psychology, 65, 467-487.
Thanacoody HK, & Thomas SH. (2003). Antidepressant poisoning. Clin Med (Lond), 3(Suppl. 2), 8-114.
Tinakon Wongpakaran, Nahathai Wongpakaran, Manee Pinyopornpanish, Usaree -Srisutasanavong, Peeraphon Lueboonthavatchai, Raviwan Nivataphand, et al. (2014). Baseline characteristics of depressive disorders in Thai outpatients: findings from the Thai Study of Affective Disorders. Neuropsychiatr Dis Treat. 10 217–223. Published online 2014 Jan 31. doi: 10.2147/NDT.S56680.