ความเครียด ภาวะซึมเศร้า และวิธีจัดการความเครียดของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จังหวัดพะเยา

Main Article Content

พรภิมล เพ็ชรกุล
พัชรบูรณ์ ศรีวิชัย

บทคัดย่อ

วัตถุประสงค์  เพื่่อศึกษาระดับความเครียด ภาวะซึมเศร้า และวิธีจัดการความเครียดของนักศึกษาหลักสููตรพยาบาลศาสตรบัณฑิตชั้นปีีที่่ 1  วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จังหวัดพะเยา


วิธีการศึกษา   ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ เป็นนักศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิตชั้นปีที่ 1  จังหวัดพะเยา จำนวน 99 ราย ที่ลงทะเบียนเรียนในภาค 1 ปีการศึกษา 2562 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย1) แบบประเมินและวิเคราะห์ความเครียดด้วยตนเอง กรมสุขภาพจิต จำนวน 20 ข้อ 2) แบบคัดกรองโรคซึมเศร้า 2Q และ 9Q ของกรมสุขภาพจิต 3) แบบประเมินการฆ่าตัวตาย 8Q ของกรมสุขภาพจิต 4) การสอบถามวิธีจัดการความเครียดโดยใช้คำถามปรายเปิดเกี่ยวกับวิธีการจัดการความเครียด


ผลการศึกษา  ประชากรร้อยละ 72.73 มีความเครียดระดับปานกลาง ประชาร้อยละ15.15 มีความเครียดระดับต่ำกว่าเกณฑ์ปกติ ผลการประเมินคัดกรองโรคซึมเศร้าโดย 2Q , 9Q และผลแนวโน้มฆ่าตัวตาย 8Q   ประชากรร้อยละ 77.42 ไม่มีอาการของโรคซึมเศร้า รองลงร้อยละ19.35 มามีโรคซึมเศร้าระดับต่ำ วิธีจัดการความเครียด พบว่าประชากรส่วนใหญ่ใช้วิธีจัดการความเครียดแบบมุ่งแก้ไขอารมณ์จำนวน ร้อยละ 94.09 ที่พบในกลุ่มนี้เป็นจำนวนมากได้แก่การใช้วิธีแก้ปัญหาแบบคิดและการกระทำที่จะหลีกหนีปัญหาจำนวน ร้อยละ 45.70 รองลงมาคือการใช้วิธีแก้ปัญหาแบบแสวงหาการสนับสนุนทางสังคม ประชากรที่ใช้วิธีจัดการความเครียดแบบมุ่งแก้ไขปัญหาจำนวน 11 ครั้ง ร้อยละ 5.91 ที่พบส่วนมากคือวิธีแก้ปัญหาแบบพฤติกรรมการเผชิญหน้าปัญหา จำนวน 9 ครั้ง ร้อยละ 4.84

Article Details

How to Cite
เพ็ชรกุล พ. ., & ศรีวิชัย พ. . (2020). ความเครียด ภาวะซึมเศร้า และวิธีจัดการความเครียดของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จังหวัดพะเยา. วารสารจิตวิทยาคลินิกไทย (Online), 51(1), 1–14. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/tci-thaijclinicpsy/article/view/251777
บท
นิพนธ์ต้นฉบับ

References

กรมสุุขภาพจิต, กระทรวงสาธารณสุุข. (2547). คู่มืออยู่อย่างมีความสุุขในเรือนจํา. พิมพ์ครั้้งที่่ 2. กรุุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ชุุมนุมสหกรณ์เกษตรแห่งประเทศไทย จํากัด.
ฉัตรกมล ออกกิจวัตร. (2546). การศึกษาปัญหา สาเหตุุของปัญหาการเผชิญปัญหาเกี่่ยวกับการปฏิบัติงานและความต้องการของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลหัวเฉียว. ปริญญานิพินธ์ กศ.ม. (จิตวิทยาการแนะแนว) กรุุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ.
ช่อทิพย์ จันทรา. (2562). ความเครียด ภาวะซึมเศร้า และวิธีจัดการความเครียดของนักัศึกษาชั้้น ปีที่ 1 หลักสููตรสาธารณสุุขศาสตรบัณฑิต วิทยาลัยการสาธารณสุุขสิรินธร จังหวัดพิษณุุโลก. การประชุุมหาดใหญ่วิชาการ ระดับชาติและนานาชาติครั้้งที่ 10
ณรงค์กร ชัยวงศ์. (2559). การศึกษาความเครียด สาเหตุความเครียด ของนิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ บุรีรัมย์ มหาวิทยาลัยเวสเทิร์น.
ดวงใจ วัฒนสินธุ์, สิริพิมพ์ ชูปาน. (2562). การแก้ปัญหาทางสังคมและภาวะซึมเศร้าของนักศึกษาพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา. วารสารกระทรวงสาธารณสุุข, 87-99.
ธนพล บรรดาศักดิ์ , กนกอร ชาวเวียง, นฤมล จันทรเกษม. (2558). ปัจจัยทำนายความเครียดของนักศึกษาพยาบาลศาสตรบัณฑิต กรณีศึกษา วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีพระพุทธบาท : การประชุมวิชาการระดับชาติ ประจำปี 2558 : Diversity in Health and Well-Being.
ธรณินทร์ กองสุข และคณะ. (2549). การประเมินโรคซึมเศร้า : การทบทวนหลักฐานทางวิชาการ.อุบลราชธานี : ศิริวรรณออฟเซ็ท.
นฤมล สมรรคเสวี , โสภิณ แสงอ่อน. (2558). ปัจจัยที่สัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้าในนักศึกษาพยาบาล : วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต 29 (3) กันยายน-ธันวาคม 2558.
นุชนาถ แก้วมาตร, จันทนา เกิดบางแขม, ชนัดดา แนบเกสร. (2554). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อภาวะซึมเศร้าของนิสิตพยาบาลมหาวิทยาลัยบูรพา. วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 19(6), 83-95.
เปรมฤดี ศรีวิชัย , พิมพิมล วงศ์ไชยา. (2553). ความสัมพันธ์ระหว่างความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งความเครียด และภาวะซึมเศร้าของนักศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต ชั้นปีที่ 1 วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี พะเยา. วารสารสภาการพยาบาล, 27(4), ตุุลาคมธัันวาคม 2555: 57-68.
พรดารา แซ่ฉั่ว. (2547). การเปรียบเทียบวิธีเผชิญความเครียดของพยาบาลที่มีบุคลิกภาพและสัมพันธภาพในครอบครัวแตกต่างกัน. ปริญญานิพนธ์ กศ.ม. (จิตวิทยาพัฒนาการ). กรุงเทพฯ:บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ฉบับอัดสำเนา.
ภุมรินทร์ อินชัวนี, ชนานันท์ แสงปาก, สุภาพ เหมือนชู. (2560). การพยาบาลวัยรุ่นที่มีภาวะซึมเศร้า : วารสารการพยาบาล การสาธารณสุข และการศึกษา 18(2) พฤษภาคม-สิงหาคม 2560.
มาลีวัล เลิศสาครศิริ. (2557). ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลและปัจจัยสิ่งแวดล้อมกับความเครียด และการจัดการความเครียดขณะฝึกปฏิบัติงานห้องคลอดของนักศึกษาพยาบาลวิทยาลัยเซนต์หลุยส์.วารสารพยาบาลทหารบก. 15(2): 270-279.
มาโนช หล่อตระกูล และปราโมทย์ สุคนิชย์. จิตเวชศาสตร์ รามาธิปดี.กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทย์ศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิปดี มหาวิทยาลัยมหิดล.2555.
ระวีวรรณ แสงฉาย , พรวิภา เย็นใจ, และล้ำศักดิ์ ชวนิชย์. (2557). ปัจจัยที่มีผลต่อความเครียดของนักศึกษา คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี
รังสิมันต์ สุนทรไชยา, ธรณินทร์ กองสุุข, สุุวรรณา อรุุณพงค์ไพศาล, วาสินี วิเศษฤทธิ์,สุุพัตรา สุุขาวห, และจินตนา ลี้จงเพิ่่มพููน. (2561). การพัฒนาและทดสอบความตรงเชิงโครงสร้างของแบบประเมิินอาการซึมเศร้า ของผู้สููงอายุุโรคซึมเศร้าไทย. The Journal Of Psychiatric Nursing And Mental Health.
32 (2) พฤษภาคม-สิงหาคม 2561, 100-112.
รุ่งทิพย์ โพธิ์ชุ่ม. (2544). ต้นเหตุุความเครียด ระดับความเครียดและวิธีเผชิญความเครียดในนักศึกษาพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. วารสารจิตวิทยาคลินิก, 32 (2) กรกฎาคม-ธันวาคม 2544, 14-27.
ศิริวัลห์ วัฒนสินธุ์. (2553). การรับรู้ระดับความเครียดและต้นเหตุความเครียดของนิสิตพยาบาลคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา. วารสารคณะพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยบูรพา, 18(1), 47-59.
สุวรรณา อรุณพงค์ไพศาล,พุนศรี รังสีขจี,นิรมล พัจนสุนทร,สุรพล วีระศิริ,สุชาติ พหลภาคย์,และ
ธวัชชัย กฤษณะประกรกิจ.(2549). การพัฒนาเครื่องมือคัดกรองภาวะซึมเศร้าชื่อ Khon Kaen University Depression Inventory (KKU-DI) สำหรับคนไทยในชุมชนภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วารสารสมาคมจิตแพทย์แห่งประเทศไทย, 51,330-348.
สืบตระกูล ตันตลานุกุล , ปราโมทย์ วงศ์สวัสดิ์. (2560). ความเครียดและการจัดการความเครียดของนักศึกษาพยาบาล.วารสาร วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี อุุตรดิตถ์, 9(1): 81-92. 2560.
สีนวล จำคำ. (2558). ความสัมพันธ์ระหว่างบุคลิกภาพห้าองค์ประกอบกับวิธีเผชิญความเครียด. ปริญญานิพนธ์ กศ.ม. (จิตวิทยาพัฒนาการ). กรุงเทพฯ:บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
สุกัญญา คมสัน. (2540). กลวิธีเผชิญภาวะเครียดและพฤติกรรมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในวัยผู้ใหญ่ตอนต้น. ปริญญานิพนธ์ กศ.ม. (จิตวิทยาพัฒนาการ). กรุงเทพฯ:บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
สิริทรัพย์ สีหะวงษ์ , ณิชกานต์ ฝูงดี, ณัฐธิดา ยานะรมย์และคณะ. (2561). ปัจจัยที่ส่งผลต่อความเครียดของนักศึกษาคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี : วารสาร มฉก. วิชาการ : ปีที่ 21 ฉบับที่ 42 มกราคม-มิถุนายน 2561.
Charoensuk, S. (2007). Negative thinking: A key factor in กepressive symptoms in Thai adolescents. Issues in Mental Health Nursing, 28, 55-74.
Horwitz,A. G., Hill, R. M.,& King, C.A. (2011).Specific coping behaviors in relation to adolescent depression and suicidal ideation. Journal of adolescence,34, 1077-1085.
Hasida Ben-Zur. (2005,May). Coping Distress and life events in a community sample. International Journal of Stress Management. 12(2), 188-196.
Lazarus RS, Folkman S. (1984). Stress Appraisal and Coping. New York: Springer Publishing Company lnc.
Ruangkanchanasetr, S., Plitponkarnpim, A., Hetrakul, P., & Kongsakon, R. (2005). Youth risk behavior survey: Bangkok,
Thailand. Journal of Adolescent Health, 36, 227-235.
Rajesh, K.N. (2011). Stress and coping strategies among nursing students. Nursing and Midwifery Research Journal, 7(4), 141-
151.
Selye H. (1976). Stress in health and disease. Butterworth’s. lnc. Boston, MA.
Valente,S.M. (1994). Recognizing depression in elderly patients. American Journal of Nursing, 94 (12), 18-25.
Varcarolis, M.E. (2013). Essentials of Psychiatric Mental Health Nursing. Saunder, and imprint of Elsevier. Canada.
Videbeck, L.S. (2014). Psychiatric Mental Health Nursing (6th ed). Lippincott Williams & Wilkins.