การจัดการทรัพยากรมนุษย์ภายใต้กระบวนทัศน์การจัดการภาครัฐแนวใหม่

ผู้แต่ง

  • Burachat Jandeang นักศึกษา รป.ด. (รัฐประศาสนศาสตร์) คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
  • Assoc. Prof. Dr. Yupaporn Yupas คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม

คำสำคัญ:

การจัดการทรัพยากรมนุษย์, การจัดการภาครัฐแนวใหม่

บทคัดย่อ

การบริหารงานบุคคลภาครัฐแนวใหม่นั้น จากความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในปัจจุบันได้รับอิทธิพลสำคัญมาจากแนวคิดการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ ซึ่งส่งผลทำให้หน่วยงานภาครัฐต้องปรับปรุงเปลี่ยนแปลงในหลายด้าน ได้แก่ บทบาทหน้าที่ รูปแบบองค์การ ระบบการบริหารงาน ระบบงบประมาณ ระบบการบริหารทรัพยากรบุคคล วัฒนธรรม รวมถึงกฎระเบียบต่างๆ ให้มีความทันสมัยและสอดคล้องกับบริบทสิ่งแวดล้อมที่เต็มไปด้วยความซับซ้อน รุนแรง และมีพลวัตสูง อันเกิดจากอิทธิพลของกระแสโลกาภิวัตน์ ดังนั้นการบริหารงานบุคคลภาครัฐแนวใหม่ในบทความนี้ จึงมุ่งสำรวจลักษณะที่สำคัญของแนวคิดการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ทั้งในเรื่องการก่อตัว ลักษณะสำคัญ ทฤษฎี ตัวอย่างการปฏิรูประบบราชการและการบริหารจัดการภายใต้อิทธิพลของกระแสแนวคิดดังกล่าว เพื่อให้เกิดความเข้าใจในแนวคิดนี้ชัดเจนขึ้น ตลอดจนสามารถนำไปปรับใช้ในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐให้เกิดการพัฒนาได้อย่างมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลสอดคล้องกับความต้องการของประชาชนต่อไป

 

References

โกลด์สมิท สตีเฟ่น. (2552). การบริหารงานภาครัฐแบบเครือข่าย : มิติใหม่ของภาครัฐ. กรุงเทพฯ : เอ็กซ เปอร์เน็ท,

จิรวัฒน์ รจนาวรรณ. (2546). ปฏิรูปการเมืองและระบบราชการ. กรุงเทพฯ: พึ่งตน.

จุมพล หนิมพานิช. (2550). การบริหารจัดการภาครัฐใหม่: หลักการ แนวคิด และกรณีตัวอย่างของไทย. พิมพ์ครั้งที่ 2,กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,

ทศพร ศิริสัมพันธ์. (2551). "ทิศทางและแนวโน้มของรัฐประศาสนศาสตร์" ใน ประมวลสาระชุดวิชา แนวคิด ทฤษฎี และหลักการรัฐประศาสนศาสตร์หน่วยที่ 15.นนทบุรี. หาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,

ธงชัย วงศ์ชัยสุวรรณ. 2546, รุ่ง แก้วแดง. (2538). รีเอ็นจิเนียริ่งระบบราชการไทย. กรุงเทพฯ: มติชน,

บุญเลิศ ไพรินทร์. (2559). การกำหนดนโยบายและ แผน รวมถึงกฎ ระเบียบและข้อบังคับที่เกี่ยวกับการวางแผนกำลังคน.[Online]. www.tnews.co.th/contents/214957 [23 มีนาคม 2560]

บุษยมาศ แสงเงิน. (2559). Good To Great การสร้างองค์กรแห่งความยิ่งใหญ่ [Online]. https://www.gotoknow.org/posts/416027 [23 มีนาคม 2560]

ประโยชน์ ส่งกลิ่น. (2551). การปฏิรูปการจัดการภาครัฐ: กรณีศึกษาการจัดการภาครัฐแนวใหม่ใน ประเทศไทยและสิงคโปร์". วิทยานิพนธ์ปริญญารัฐศาสตรดุษฎีบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ปีเตอร์ ดรัคเกอร์. (2537). โลกใหม่ไร้พรมแดน. กรุงเทพฯ: ภาพพิมพ์

พิทยา บวรวัฒนา. (2552). "แนวคิด ทฤษฎี และหลักการรัฐประศาสนศาสตร์สหรัฐอเมริกา 2" ใน ประมวลสาระชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการรัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 4.นทบุรี.หาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,

รัชฎา อสิสนธิสกุล. แนวคิดด้าน การบริหารทรัพยากรมนุษย์ยุคใหม่. [Online]. https://www.gotoknow.org/posts/267913. [23 มีนาคม 2560]

วรเดช จันทรศร. (2541). ปรัชญาการบริหารภาครัฐ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: สหายบล็อกและการพิมพ์,

วิจิตร ศรีสอ้านและอวยชัย ชบา. (2541). หลักการและภารกิจของการบริหารงานบุคคล. เอกสารชุดวิชาการบริหารงานบุคคล หน่วยที่ 2 หน้าที่ 48. สาขาวิทยาการจัดการ นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

วิรัช วิรัชนิภาวรรณ . แนวคิดและความหมายของการบริหารและการบริหารจัดการ. [Online].

https://www.wiruch.com/articles%20for%20article/article%20concept%20and%20meaning%20of%20admin%20and%20mgt%20admin.htm. [23 มีนาคม 2560]

สนั่น เถาชารี. (2560). กลยุทธ์การบริหารค่าตอบแทน (Compensation Management). ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น [Online]

https://www.thailandindustry.com/indust_newweb/articles_preview.php?cid=17843 [23 มีนาคม 2560]

สัมฤทธิ์ ยศสมศักดิ์. (2549). รัฐประศาสนศาสตร์: แนวคิดและทฤษฎี. กรุงเทพฯ: เอ็กซเปอร์เน็ท,

สุรศักดิ์ ชะมารัมย์. (2560). “การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่: กระแสหลักของการเปลี่ยนแปลงในการบริหารงานภาครัฐ”. วารสารมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตร้อยเอ็ด. 1 (2) : 1-12.

อาวุธ วรรณวงศ์. (2551). กระบวนทัศน์การบริหารภาครัฐ" ใน ประมวลสาระชุดวิชาการบริหารภาครัฐ หน่วยที่ 11. นนทบุรี. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,

Denhardt and Grubbs. (2003). การจัดการภาครัฐแนวใหม่.หน้า 335. [Online]. https://www.esbuy.net/ site/download-file.php?doc_id=431 [23 มีนาคม 2560]

Drucker, Peter F. (1994). Managing for the Future. Oxford: Butterworth – Heinemann,

Fisher and Others. (1993). U.S. Geological Survey Professional Paper, เล่มที่ 1659-1661. [Online]. https://books.google.co.th/books?id=fRolAQAAIAAJ&pg=PA29&lpg=PA29&dq=Fisher+and+Others+1993&source=bl&ots=p1wqJRJc7K&sig=4ZOvCNJHughKAi7UXIEY2TYzZHE&hl=th&sa=X&ved=0ahUKEwiK48fX0rYAhWLybwKHQJCD1wQ6AEIMTAC#v=onepage&q=Fisher%20and%20Others%201993&f=false. [23 March 2017]

Gilley, J. W., Eggland , S. A. & Maycunich, G. (1989). A Principle of Human Resource Development. Massachusettes: Addison Wesley.

Jim Collins. (2001). GOOD TO GREAT. [Online]. https://www.jimcollins.com/article_topics/ articles/good-to-great.html. [23 March 2017]

Masayoshi Eguchi. (2007). "New Public Management: As a Means to Reform". Quarterly Journal of Public Policy & Management. 1 (Special Issue): 1-23.

Stuart Crainer. (1998). Key Management Ideas: the thinkers who change the way we manage: Thinkers That Changed the Management World (Management Masterclass).

[Online]. https://www.amazon.co.uk/Key-Management-Ideas-thinkers-Masterclass/dp/ 0273638084. [23 March 2017]

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2017-06-30