กระบวนทัศน์เชิงสังคม ใน นวนิยาย เรื่อง ร่มฉัตร และ ทวิภพ ของ ทมยันตี (Social Paradigm in Romchat and Tawipope Novels by Thamayantee)

Main Article Content

กาญจนา วิชญาปกรณ์

Abstract

บทความวิจัยนี้ มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษากระบวนทัศน์เชิงสังคมใน นวนิยายเรื่อง ร่มฉัตร (2513) และ ทวิภพ (2530) ของทมยันตี โดยวิเคราะห์วาทกรรมในนวนิยายทั้ง 2 เรื่อง จากการวิจัย พบว่า แม้นวนิยายทั้งสองเรื่อง จะแต่งในระยะเวลาที่ ห่างกัน 10 กว่าปี แต่ยังคงกระบวนทัศน์หลักอยู่ ซึ่งผู้ประพันธ์ ได้ตอกย้ำ และ ผลิตซ้ำ ด้วยวิธีการให้คุณค่าต่อบริบทแวดล้อมทางสังคมและวัฒนธรรมด้วย 3 กระบวนทัศน์หลัก คือ กระบวนทัศน์ด้านความดี กระบวนทัศน์ด้านความงามและกระบวนทัศน์ ด้านความจริง โดยมีเครือข่ายที่ครอบครองยึดโยงทั้ง 3 กระบวนทัศน์เข้าไว้ด้วยกัน คือ อำนาจแห่งความศรัทธาในแบบอุปถัมภ์ค้ำชู ที่ตอกหลักบทบาทและหน้าที่นิยมลงในชนทุกเพศ ทุกวัย และทุกสถานะ

 

The purpose of this research is to study the social paradigm in Thamayantee’s Romchat (1970) and Tawipope (1987) by analyzing the discourses embedded in the two novels. Even though the two novels were written more than 10 years apart, they are both structured by a similar paradigm. The paradigm, which is emphasized and reproduced by the author, consists of three discourses: value, propriety, and reality. The three discourses are connected and controlled by the power of faith, manifested in a form of a Thai patronage system, which encodes the social role on individuals of every age, gender, and class.

Article Details

Section
Research Articles