กรอบความคิด การเผชิญปัญหา และการปรับตัวสู่ชีวิตวิถีใหม่หลังการแพร่ระบาดของโควิด-19 ของคนหนุ่มสาวในจังหวัดเชียงใหม่
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างกรอบความคิด การเผชิญปัญหา และการปรับตัวสู่ชีวิตวิถีใหม่ รวมถึงการศึกษาอิทธิพลของกรอบความคิดที่มีต่อการปรับตัวสู่ชีวิตวิถีใหม่หลังการแพร่ระบาดของโควิด-19 โดยมีการเผชิญปัญหาเป็นตัวแปรส่งผ่าน กลุ่มตัวอย่างเป็นคนหนุ่มสาวในจังหวัดเชียงใหม่ อายุ 20-39 ปี จำนวน 200 คน เครื่องมือในการวิจัยประกอบด้วย แบบวัดการปรับตัวสู่ชีวิตวิถีใหม่ แบบวัดกรอบความคิด แบบวัดการเผชิญปัญหาแบบมุ่งแก้ปัญหา และแบบวัดการเผชิญปัญหาแบบมุ่งปรับอารมณ์ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าสหสัมพันธ์เพียร์สัน การวิเคราะห์อิทธิพล และการวิเคราะห์อิทธิพลส่งผ่าน ผลการวิจัยพบว่า กรอบความคิด การเผชิญปัญหา และการปรับตัวสู่ชีวิตวิถีใหม่ มีความสัมพันธ์ทางบวก ส่วนการวิเคราะห์อิทธิพลและการวิเคราะห์อิทธิพลส่งผ่านแสดงให้เห็นว่า การปรับตัวสู่ชีวิตวิถีใหม่ได้รับอิทธิพลทางตรงจากกรอบความคิดและการเผชิญปัญหาแบบมุ่งแก้ปัญหา นอกจากนี้ การปรับตัวสู่ชีวิตวิถีใหม่ได้รับอิทธิพลทางอ้อมจากกรอบความคิด ผ่านการเผชิญปัญหาแบบมุ่งแก้ปัญหา โดยการเผชิญปัญหาแบบมุ่งแก้ปัญหาทำหน้าที่เป็นตัวแปรส่งผ่านแบบบางส่วนระหว่างกรอบความคิดและการปรับตัวสู่ชีวิตวิถีใหม่ ผลของการศึกษานี้ชี้ให้เห็นว่ากรอบความคิดและทักษะการเผชิญปัญหาเป็นปัจจัยสำคัญในการพัฒนาการปรับตัวเข้าสู่วิถีชีวิตใหม่ของคนหนุ่มสาวในจังหวัดเชียงใหม่หลังการแพร่ระบาดของโควิด-19
Article Details

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ต้นฉบับที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ถือเป็นกรรมสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ห้ามนำข้อความทั้งหมดหรือบางส่วนไปพิมพ์ซ้ำ เว้นเสียแต่จะได้รับอนุญาตจากมหาวิทยาลัยฯ เป็นลายลักษณ์อักษรReferences
กรรณิการ์ แสนสุภา, เอื้อทิพย์ คงกระพันธ์, อุมาภรณ์ สุขารมย์, และ ผกาวรรณ นันทะเสน. (2563). การปรับตัวของนักศึกษาในสถานการณ์โควิด-19. วารสาร มจร มนุษยศาสตร์ปริทัศน์, 6(2), 83-97.
โควิดไทยเข้าสู่ระยะหลังการแพร่ระบาดใหญ่ 1 ก.ค.นี้ ส่วนโรคประจำถิ่น ต้องรอองค์การอนามัยโลก. (2565) . สืบค้น 2 กรกฎาคม 2565, จาก https://www.hfocus.org/ content/2022/06/25389
จุฬาพร คำมุงคุล. (2562). การเผชิญปัญหาเพื่อการเปลี่ยนแปลงที่มีต่อพฤติกรรมการปรับตัวในการเรียนของนักศึกษาปริญญาตรีสาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์: รูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุและผลของโปรแกรม (วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต). กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ชัชวาลย์ ศิลปะกิจ, อรวรรณ ศิลปะกิจ, และรสสุคนธ์ ชมชื่น. (2558). ความตรงของแบบวัดชุดความคิด. วารสารสุขภาพจิตแห่งประเทศไทย. 23(3), 166-174.
ทนงศักดิ์ แสงสว่างวัฒนะ, ณิชนันทน์ ศิริไสยาสน์, และ โชติ บดีรัฐ. (2563). “New Normal” ชีวิตวิถีใหม่และการปรับตัวของคนไทยหลังโควิด-19: การงาน การเรียน และธุรกิจ. วารสารการบริหารการปกครองและนวัตกรรมท้องถิ่น, 4(3), 371-386.
นันทพร กุลชนะธารา. (2560). รูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุด้านจิตสังคมของการปรับตัวของนิสิตนักศึกษาระดับปริญญาตรีชั้นที่ 1 จากครอบครัวเพื่อเข้าศึกษาต่อในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล (วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต). กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ปาลินี สุขคุ้ม, ศรสวรรค์ สุภาพปัญญา, และ ยุทธพงศ์ ทัดวอน. (2564). การศึกษาแนวทางในการเผชิญความเครียดในยุคชีวิตวิถีใหม่ของพนักงานกลุ่มอุตสาหกรรมปิโตรเคมีจังหวัดระยอง. วารสารบริหารธุรกิจอุตสาหกรรม, 3(2), 30-45.
เปิดข้อมูลทางระบาดวิทยาผู้ป่วยโควิด-19 พบมากสุดอายุ 20-39 ปี. (2563) . สืบค้น 12 พฤศจิกายน 2563, จาก https://www.hfocus.org/content/2020/04/19040
สิริรัตน์ ช่อฉาย. (2564). ศึกษาพฤติกรรมชีวิตวิถีใหม่ของนักเรียนในช่วงสถานการณ์ COVID-19. วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์รำไพพรรณนี, 2(1), 1-14.
สุริยันต์ บุญเลิศวรกุล, พิมพ์นารา สุกใส, ศุภนิดา จันทร์ทอง, ฮาซันอักริม ดงนะเด็ง,
เนตรนภา คงจอก, ธนาวุฒิ หะจิ, และ ศุภกฤต แท่นขวัญ (2564). สภาพความพร้อม
การปรับตัว และ ความพึงพอใจต่อการเรียนรู้ ผ่านระบบออนไลน์ของนักศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานคริน ทร์ วิทยาเขตตรัง ภายใต้แนวคิดชีวิตวิถีใหม่. วารสาร
ครุพิบูล. 9(1), 37-51.
สำนักงานราชบัณฑิตยสภา. (2563). กรอบความคิดยึดติด, ชุดความคิด (mindset). สืบค้น 26 ตุลาคม 2563, จากhttps://www.facebook.com/RatchabanditThai/ photos/กรอบความคิดติดยึด-ชุดความคิด-mindsetกรอบ-แนวทางของชุดความคิด-ความเชื่อ-ค่านิยมหลัก-ค1897231787001574
Agresti, A., & Finlay. B. (2008). Statistical options for the social sciences. (4th ed.) Upper saddle river, New Jersey: Prentice Hall.
Baron, R.M., & Kenny, D.A. (1986). The moderator-mediator variable distinction in social psychological research: conceptual, strategic, and statistical considerations. Journal of Personality and Social Psychology, 51(6), 1173-1182.
Betsy, Ng. (2018). The neuroscience of growth mindset and intrinsic motivation. Brain Sci, 8(2), 6-10.
Burnettea, J.L., Knouseb, E., Vavrab, T., Ernest, V. Milan, B. & Brooksb. A. (2020). Growth mindsets and psychological distress: A meta-analysis. Clinical Psychology Review, 77. Retrieved May 25, 2024, from https://doi.org/ 10.1016/j.cpr.2020.101816
Charoon, N. (2565). รายงานข้อมูลสถานการณ์การติดเชื้อโควิด-19 ณ วันศุกร์ที่ 30 กันยายน 2565. สืบค้นเมื่อ 25 พฤษภาคม 2567, จาก https://covid19.nrct.go.th/ daily-report-30sep2022/.
Chong, M. A., Elias, H., Mahayuddin, R., & Uli, J. (2009). Adjustment among first year students in Malaysian university. European Journal of Social Sciences, 8(3), 496-505.
De Vries, JH., Spengler, M., Frintrup, A., & Mussel, P. (2021). Personality development in emerging adulthood—How the perception of life events and mindset affect personality trait change. Frontiers in Psychology. 12, 671421. Retrieved September 25, 2024, from https://doi.org/ 10.3389/fpsyg.2021.671421
Dorsett, P., Geraghty, T., Sinnott, A., & Acland, R. (2017). Hope, coping and psychosocial adjustment after spinal cord injury. Spinal cord series and cases, 3, 17046. Retrieved May 25, 2024, from https://doi.org/10.1038/ scsandc.2017.46
Drewery, D.W., Sproule, R. & Pretti, T.J. (2020). Lifelong learning mindset and career success: evidence from the field of accounting and finance. Higher Education, Skills, and Work-Based Learning, 10(3), pp. 567-580. Retrieved May 25, 2024, from https://doi.org/10.1108/ HESWBL-03-2019-0041
Esparza, j., Shumow, L., & Schmidt. J.A. (2014). Growth mindset of gifted seventh grade students in science. NCSSSMST Journal, 19(1), 6-12.
Garson, G.D. (2012). Testing statistical assumptions. Retrieved October 20, 2016, from www.statisticalassociates.com/assumptions.pdf
Hair, J., Black, W., Babin, B., & Anderson, R. (2010). Multivariate date analysis: A global perspective. Upper Saddle River, NJ: Pearson Education.
Hasyim, Rambe, F.A.H., Simanjuntak, G., & Hutajulu I.H.N., (2023). Entrepreneurial mindset and Adaptation Capability in Business. International Journal of Advanced Technology and Social Sciences, 1(3), 151-158.
Holumyong, C. (2020). The Impact of Growth mindset on the preferred employer after graduation. Journal of Business, Innovation and Sustainability, 17(4),190-206.
Jaiswal, A., Pandey, N., & Sarraf, S.R. (2023). Correlation between personality traits and coping strategies of young adults in India. The Scientific Temper, 14(4), 1506-1510. Retrieved May 25, 2024, from https://doi.org/10.58414/SCIENTIFICTEMPER.2023.14.4.64
Janssen, T.W.P., & van Atteveldt, N. (2023). Coping styles mediate the relation between mindset and academic resilience in adolescents during the COVID-19 pandemic: a randomized controlled trial. Scientific Reports, 13, 6060. Retrieved May 25, 2024, from https://doi.org/ 10.1038/ s41598-023-33392-9
Jegathesan, M. Vitberg, Y.M., & Pusic, M.V. (2016). A survey of mindset theories of intelligence and medical error self-reporting among pediatric house staff and faculty. BMC Medical Education, 11(16), 58. Retrieved May 25, 2024, from https://doi.org/10.1186/s12909-016-0574-8
Lazarus, R.S., & Folkman, S. (1984). Stress, appraisal and coping. New York: Springer Publishing.
Perera, H. N., & DiGiacomo, M. (2015). The role of trait emotional intelligence in academic performance during the university transition: An integrative model of mediation via social support, coping, and adjustment. Personality and Individual Differences, 83, 208–213. Retrieved May 25, 2024, from https://doi.org/10.1016/j.paid.2015.04 .001
Puspitasari, I., Gunawan, G., & Dwijayanthy, M. (2024). The roles of growth mindset on the career adaptability students in west Java. Humanitas (Jurnal Psikologi), 8(1), 29–46. Retrieved September 25, 2024, from https://doi.org/10.28932/humanitas.v8i1.8589
Schroder, H. S., Moran, T. P., Donnellan, M. B., & Moser, J. S. (2014). Mindset induction effects on cognitive control: A neurobehavioral investigation. Biological Psychology, 103, 27–37. Retrieved May 25, 2024, from https://doi.org/10.1016/j.biopsycho.2014.08.004.
Tabachnick, B., & Fidel, L. (2000). Using multivariate statistics. Needham Heights, MA: Allyn and Bacon.
Yan, V.X., Thai, K.T., & Bjork, R.A. (2014). Habits and beliefs that guide self-regulated learning: Do they vary with mindset? Journal of Applied Research in Memory and Cognition, 3(3), 140-152. Retrieved May 25, 2024, from https://doi.org/10.1016/j.jarmac.2014.04.003
Yeager, D. S., Hanselman, P., Walton, G. M., Murray, J. S., Crosnoe, R., Muller, C., … Dweck, C.S. (2019). A national experiment reveals where a growth mindset improves achievement. Nature, 573, 364–369. Retrieved May 25, 2024, from https://doi.org/10.1038/s41586-019-1466-y.