บทบาทของคณะสงฆ์ไทยกับการมีส่วนร่วมในเหตุการณ์กรณีพิพาทอินโดจีน
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบทบาทของคณะสงฆ์ไทยกับการมีส่วนร่วมในเหตุการณ์กรณีพิพาทอินโดจีน ผลการศึกษาพบว่าคณะสงฆ์ไทยได้แสดงบทบาทสำคัญและเด่นชัดเป็นอย่างมากโดยเข้ามามีส่วนร่วมตั้งแต่ก่อนเริ่มต้นจนถึงภายหลังสิ้นสุดเหตุการณ์กรณีพิพาทฯ สามารถแบ่งออกได้เป็น 8 บทบาท คือ 1. การให้การสนับสนุนการเดินขบวนเรียกร้องดินแดนคืน 2. การเป็นผู้จัดสร้างวัตถุมงคลเพื่อเป็นขวัญกำลังใจแก่เจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติราชการสนาม 3. การเป็นจารชนสืบราชการ 4. การให้การสนับสนุนสถานที่ปฏิบัติการรบ 5. การเป็นผู้บริจาคเงิน และสิ่งของอุปโภคบริโภคให้แก่เจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติราชการสนาม 6. การสนับสนุนนโยบายเปลี่ยนผู้นับถือศาสนาคริสต์ให้มานับถือศาสนาพุทธ 7. การปกครองคณะสงฆ์ในดินแดนที่ได้คืนจากฝรั่งเศส 8. การจัดการศึกษาในดินแดนที่ได้คืนจากฝรั่งเศส
Article Details
บท
บทความวิชาการ
ต้นฉบับที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ถือเป็นกรรมสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ห้ามนำข้อความทั้งหมดหรือบางส่วนไปพิมพ์ซ้ำ เว้นเสียแต่จะได้รับอนุญาตจากมหาวิทยาลัยฯ เป็นลายลักษณ์อักษร
References
กองโฆษณกาการ. (2484). ประเทศไทยเรื่องการได้ดินแดนคืน. พระนคร: โรงพิมพ์กรมรถไฟ.
กองบรรณาธิการข่าวสด. (2553). อมตะพระเกจิ 77 จังหวัด. กรุงเทพฯ: มติชน.
กองบรรณาธิการข่าวสด. (2556). สุดยอด - อมตะ 109 เหรียญมงคล. พิมพ์ครั้งที่ 13, กรุงเทพฯ: มติชน.
การบริจาคธงชาติเป็นของขวัญแก่พี่น้องชาวไทยในแคว้นหลวงพระบาง. (2484). ข่าวโฆษณาการ. 4(3), 694–695.
การสาสนา, กรม. (2485). แถลงการณ์คณะสงฆ์ เล่ม 30 ภาค 2. พระนคร: โรงพิมพ์สาสนศึกษา.
การสาสนา, กรม. (2485). แถลงการณ์คณะสงฆ์ เล่ม 30 ภาคพิเศษ ฉบับที่ 4. พระนคร: โรงพิมพ์สาสนศึกษา.
การสาสนา, กรม. (2488). แถลงการณ์คณะสงฆ์ เล่ม 33 ภาค 3. พระนคร: โรงพิมพ์สาสนศึกษา.
การสำรวจผู้ถือศาสนาโรมันคาธอลิค ณ จังหวัดขอนแก่น. (2484). ข่าวโฆษณาการ. 4(3): 763.
ข่าวการศึกษาผู้ใหญ่. (2485). วิทยาจารย์. 42(1), 121 – 130.
ข่าวมิซซังภาคอีสาน. (1941). สารสาสน์. 25, 312.
ความตกลงระงับกรณีระหว่างประเทศไทยกับประเทศฝรั่งเศส, (2489, 9 ธันวาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 63.
โครงการจัดการศึกษาผู้ใหญ่ในดินแดนที่ไทยเข้าปกครอง. (2484). ข่าวโฆษณาการ. 4(3), 644–645.
โฆษณาการ, กรม. (2484). ประมวลข่าวราชการในกรณีพิพาทระหว่างประเทศไทยกับอินโดจีนฝรั่งเศส. พระนคร: โรงพิมพ์พานิชศุภผล. (พิมพ์เนื่องในงานพระราชทานเพลิงศพ คุณหญิงเล็กราชสีหยศ (ต.จ.) ณ เมรุวัดสระเกศ วันที่ 2 กันยายน พุทธศักราช 2484)
จัดระเบียบคณะสงฆ์ในเขตที่ยึดได้. (2484). ข่าวโฆษณาการ. 4(3), 720.
เฉลียว จันทรทรัพย์. (ม.ป.ป.). เหรียญพุทธคุณ ธรรมคุณ สังฆคุณ. ม.ป.ท.
ชาญวิทย์ เกษตรศิริ. (2551). ประวัติการเมืองไทยสยาม พ.ศ.2475 – 2500. พิมพ์ครั้งที่ 5, กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์.
ชาญวิทย์ เกษตรศิริ. (2553). (บรรณาธิการ) แม่: กลับจากบ้านโป่งถึงปากน้ำ. พิมพ์ครั้งที่ 2, กรุงเทพฯ: Dream Catcher Graphic.
ชาลี เอี่ยมกระสินธุ์. (2542). ศึกอินโดจีน. กรุงเทพฯ: เลิฟแอนด์ลิพเพรส.
ชัยเฉลิม นาคะประเวศ. (2554). ครั้งหนึ่งเมื่อนครจัมปาศักดิ์เป็นของเรา. พิมพ์ครั้งที่ 3, กรุงเทพฯ: รุ่งศิลป์การพิมพ์ (1977).
ดิเรก ชัยนาม. (2510). ไทยกับสงครามโลกครั้งที่ 2. พิมพ์ครั้งที่ 2, กรุงเทพฯ: แพร่พิทยา.
ถนอม โพธิ์ทองนาค. (2542). การปฏิบัติราชการสงครามกรณีพิพาทอินโดจีนฝรั่งเศส. อนุสรณ์งานพระราชทานเพลิงศพ พ.อ.ถนอม โพธิ์ทองนาค ณ ฌาปนสถานวัดโสมนัสวิหาร กรุงเทพฯวันจันทร์ 27 ธันวาคม พุทธศักราช พ.ศ. 2542
ถาวร ช่วยประสิทธิ์. (2549). ทหารเหลือใช้สงคราม. พิมพ์ครั้งที่ 2, กรุงเทพฯ: สารคดี.
ธรรมการ, กรม. (2483). แถลงการณ์คณะสงฆ์ เล่ม 28. ม.ป.ท.
บัญชร ชวาลศิลป์. (2549). จากใต้สู่อีสาน ผลึกแห่งชีวิต พล.อ.เปรม ติณสูลานนท์. กรุงเทพฯ: มติชน.
ประกาศสถาปนาสมเด็จพระวันรัตขึ้นเป็นสมเด็จพระสังฆราช, (2481, 15 พฤศจิกายน). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 55.
ประเสริฐ สุดบรรทัด. (2484). กองพันทหารเสือ บันทึกการรบกับอินโดจีนของฝรั่งเศส. อนุสรณ์งานพระราชทานเพลิงศพ พันโทประเสริฐ สุดบรรทัด ณ ฌาปนสถานวัดพระศรีมหาธาตุฯ บางเขน วันอาทิตย์ที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2523.
ผาสุก พงษ์ไพจิตร และคริส เบเกอร์. (2546). เศรษฐกิจการเมืองไทยสมัยกรุงเทพฯ. พิมพ์ครั้งที่ 3, กรุงเทพฯ: ซิลค์เวอร์ม.
แผน สุพรรณภูมิ. (2555). หลวงพ่อ 5 ยอดพระเกจิแห่งสยาม. กรุงเทพฯ: กอไผ่.
พรหม สูตรสุคนธ์. (2536). ชีวประวัตินายพรหม สูตรสุคนธ์. อนุสรณ์งานพระราชทานเพลิงศพนายพรหม สูตรสุคนธ์ ณ เมรุวัดมกุฏกษัตริยาราม วันอาทิตย์ที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2536.
พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พุทธศักราช 2484, (2484, 14 ตุลาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 58.
พระราชบัญญัติจัดการปกครองดินแดนที่ประเทศไทยได้คืนจากประเทศฝรั่งเศส พุทธศักราช 2484, (2484, 22 กรกฎาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 58.
พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลจังหวัดลานช้าง ศาลจังหวัดนครจัมปาศักดิ์ ศาลจังหวัดพิบูลสงคราม ศาลจังหวัดพระตะบอง พุทธศักราช 2484, (2484, 12 สิงหาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 58.
พุฒิพงศ์ พุฒตาลศรี. (2552). การเผยแผ่คริสต์ศาสนาในสมัยพระสังฆราชเรอเน มารี ยอแซฟ แปร์รอส พ.ศ.2452 – 2490. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต) กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ภูวมินทร์ วาดเขียน. (2561). “วิถีชีวิตและความเชื่อทางศาสนาของชาวไทยเชื้อสายเวียดนามชุมชนวัดพระคริสตประจักษ์ อำเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา” วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา. 6(2), 59–95.
โรงเรียนคาทอลิกสังกัดสังฆมณฑลจันทบุรี. ประวัติความเป็นมาของโรงเรียนคาทอลิกสังกัดสังฆมณฑลจันทบุรี (รสจ.). สืบค้นเมื่อ 29 มกราคม 2563, จาก http://www.escd.or.th/main/index.php/vision/9-2019-01-29-09-10-10/2-2019-01-29-09-17-05.
เลือดไทย. (ม.ป.ป.). พระนคร: อารยยุค.
วิศิษฎ์ จีระวุฒิ. (2509). สังเขปประวัติเจ้าพระคุณหลวงพ่อจง พุทฺธสฺสรมหาเถระ เจ้าอาวาสวัดหน้าต่างนอก.
อนุสรณ์ชีวิตหลวงพ่อจง ที่ระลึกในงานฌาปนกิจศพ วันที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2509.
สง่า จันทรสาขา. (2542). ชีวิตและการงาน. อนุสรณ์งานพระราชทานเพลิงศพนายสง่า จันทรสาขา ณ เมรุวัดพระศรี
มหาธาตุวรมหาวิหาร วันอังคารที่ 10 สิงหาคม พ.ศ. 2542.
สมบัติ ธำรงธัญวงศ์. (2554). การเมืองการปกครองไทย: พ.ศ.1762 – 2500. พิมพ์ครั้งที่ 6, กรุงเทพฯ: เสมาธรรม.
สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ (วาสนมหาเถร) สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก. (2554). บันทึกเรื่องต่าง ๆ วาสนา สมบัติ และเอกสารสำคัญบางฉบับของวัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม. กรุงเทพฯ: บริษัท พริ้นท์ ซิตี้ จำกัด.
สึกสาธิการ, กระซวง. (2484). รายงานการสึกสาผู้ใหย่ ประจำปีพุทธศักราช 2484. พระนคร: แย้มศรี.
สุรพศ ทวีศักดิ์. (2560). จากพุทธศาสนาแห่งรัฐสู่พุทธศาสนาที่เป็นอิสระจากรัฐ. กรุงเทพฯ: สยามปริทัศน์.
เสรี พงศ์พิศ. (2527). คาทอลิกกับสังคมไทย สี่ศตวรรษแห่งคุณค่าและบทเรียน. พิมพ์ครั้งที่ 2, กรุงเทพฯ: โกมลคีมทอง.
แสง นิ่มพฤทธิ์. (2501). ชีวประวัติของพระครูปลัดแฉ่ง ศีลปญฺญา (หลวงพ่อแฉ่ง) วัดศรีรัตนาราม (บางพัง) จังหวัดนนทบุรี. พิมพ์แจกในงานฌาปนกิจศพพระครูปลัดแฉ่ง ศีลปญฺญา ณ เมรุวัดมกุฏกษัตริยาราม วันอาทิตย์ที่ 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2501 กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย.
สำนักงานสารสาสน์. (2510). ประวัติพระศาสนจักรสากลและพระศาสนจักรในประเทศไทย. พระนคร: โรงพิมพ์บริษัทไทยหัตถการพิมพ์.
หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. (2483). เอกสารกระทรวงมหาดไทย มท.2.2.9/4 เรื่องสนับสนุนการเรียกร้องดินแดนคืนจังหวัดกาญจนบุรี (5 ธันวาคม 2483)
หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. (2483). เอกสารกระทรวงมหาดไทย มท.2.2.9/6 เรื่องสนับสนุนการเรียกร้องดินแดนคืนจังหวัดนราธิวาส (4 พฤศจิกายน 2483)
หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. (2483). เอกสารกระทรวงมหาดไทย มท.2.2.9/11 เรื่องคณะกรมการจังหวัพระนครศรีอยุธยา รายงานเรื่องได้มีการชุมนุมชน ณ วัดนิเวศน์ธรรมประวัติ แสดงตำนานปลุกใจประชาชนให้ทราบถึงเรื่องฝรั่งเศสรังแกไทยเมื่อร.ศ.112 (ตอน 1) (30 ตุลาคม 2483)
หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. (2483). เอกสารกระทรวงมหาดไทย มท.2.2.9/12 เรื่องสนับสนุนการเรียกร้องดินแดนคืนจังหวัดน่าน (28 ตุลาคม 2483)
หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. (2483). เอกสารกระทรวงมหาดไทย มท.2.2.9/14 เรื่องสนับสนุนการเรียกร้องดินแดนคืนจังหวัดปทุมธานี (ตอน 1) (21 ตุลาคม 2483)
หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. (2483). เอกสารกระทรวงมหาดไทย มท.2.2.9/16 เรื่องสนับสนุนการเรียกร้องดินแดนคืนจังหวัดอ่างทอง (ตอน 1) (4 พฤศจิกายน 2483, 29 มกราคม 2484, 31 มกราคม 2484)
หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. (2483). เอกสารกระทรวงมหาดไทย มท.2.2.9/21 เรื่องสนับสนุนการเรียกร้องดินแดนคืนจังหวัดภูเก็ต (29 ตุลาคม 2483)
หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. (2483). เอกสารกระทรวงมหาดไทย มท.2.2.9/25 เรื่องสนับสนุนการเรียกร้องดินแดนคืนจังหวัดนครสวรรค์ (9 พฤศจิกายน 2483)
หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. (2484). เอกสารกระทรวงมหาดไทย มท.2.2.3/75 เรื่องข้าหลวงประจำจังหวัดพระนครและธนบุรีรายงานเรื่องได้ไปเยี่ยมครอบครัวผู้ที่เปลี่ยนศาสนาในท้องที่อำเภอบางรัก (22 กุมภาพันธ์ 2484)
หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. (2484). เอกสารกระทรวงมหาดไทย มท.2.2.5/363 เรื่องคณะกรมการจังหวัดน่านรายงานเรื่องพระชยานันทมุนีเจ้าคณะจังหวัดน่าน พร้อมด้วยภิกษุสามเณรในท้องที่อำเภอสมาบุรีได้ประกอบพิธีทางศาสนาในวันวิสาขบูชา (19 พฤษภาคม 2484)
หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. (2484). เอกสารกระทรวงมหาดไทย มท.0601.4.2/571 เรื่องรายนามข้าราชการที่นับถือคริสต์ศาสนา (31 มกราคม 2484)
หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. (2484). เอกสารกระทรวงมหาดไทย มท.2.2.9/5 เรื่องสนับสนุนการเรียกร้องดินแดนคืนจังหวัดกำแพงเพ็ชร (18 มกราคม 2484)
หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. (2484). เอกสารกระทรวงมหาดไทย มท.2.2.9/13 เรื่องสนับสนุนการเรียกร้องดินแดนคืนจังหวัดน่าน (ตอน 2) (24 กุมภาพันธ์ 2484, 7 มีนาคม 2484, 18 เมษายน 2484)
หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. (2484). เอกสารกระทรวงมหาดไทย มท.2.2.9/15 เรื่องสนับสนุนการเรียกร้องดินแดนคืนจังหวัดปทุมธานี (ตอน 2) (5 กุมภาพันธ์ 2484, 19 กุมภาพันธ์ 2484)
หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. (2484). เอกสารกระทรวงมหาดไทย มท.2.2.9/17 เรื่องสนับสนุนการเรียกร้องดินแดนคืนจังหวัดอ่างทอง (ตอน 2) (13 กุมภาพันธ์ 2484)
หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. (2484). เอกสารกระทรวงมหาดไทย มท.2.2.9/27 เรื่องสนับสนุนการเรียกร้องดินแดนคืน เงินสมทบทุนซื้อเครื่องบิน จังหวัดนนทบุรี (9 มกราคม 2484)
หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. (2484). เอกสารกระทรวงศึกษาธิการ (2) ศธ.5/37 เรื่องแจ้งความกรมการศาสนามีกรมอื่นปนอยู่ด้วย พุทธศักราช 2484 (1 ธันวาคม 2484)
หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. (2484). เอกสารกระทรวงศึกษาธิการ (2) ศธ.25/3741 เรื่องชักชวนให้ผู้ที่นับถือศาสนาอื่นโอนมานับถือพุทธศาสนา (25 สิงหาคม 2484)
หอจดหมายเหตุอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ. ความขัดแย้งกับชาวฝรั่งเศสในมิสซังกรุงเทพฯ. สืบค้นเมื่อ 18 ธันวาคม 2562, จากhttp://catholichaab.com/main/index.php/2015-09-22-02-53-59/2015-09-30-02-36-32/535-2015-10-19-07-18-59.
อภิญญา. (2553). พระเกจิ ‘จาด จง คง อี๋’ (1) โด่งดังยุคสงครามอินโดจีน. ข่าวสด. 17 ธันวาคม: 31.
Strate, S. (2011). An Uncivil State of Affairs: Fascism and Anti – Catholicism in Thailand, 1941 – 1944.
Journal of southeast Asian Studies 42(1), 59 – 87.
กองบรรณาธิการข่าวสด. (2553). อมตะพระเกจิ 77 จังหวัด. กรุงเทพฯ: มติชน.
กองบรรณาธิการข่าวสด. (2556). สุดยอด - อมตะ 109 เหรียญมงคล. พิมพ์ครั้งที่ 13, กรุงเทพฯ: มติชน.
การบริจาคธงชาติเป็นของขวัญแก่พี่น้องชาวไทยในแคว้นหลวงพระบาง. (2484). ข่าวโฆษณาการ. 4(3), 694–695.
การสาสนา, กรม. (2485). แถลงการณ์คณะสงฆ์ เล่ม 30 ภาค 2. พระนคร: โรงพิมพ์สาสนศึกษา.
การสาสนา, กรม. (2485). แถลงการณ์คณะสงฆ์ เล่ม 30 ภาคพิเศษ ฉบับที่ 4. พระนคร: โรงพิมพ์สาสนศึกษา.
การสาสนา, กรม. (2488). แถลงการณ์คณะสงฆ์ เล่ม 33 ภาค 3. พระนคร: โรงพิมพ์สาสนศึกษา.
การสำรวจผู้ถือศาสนาโรมันคาธอลิค ณ จังหวัดขอนแก่น. (2484). ข่าวโฆษณาการ. 4(3): 763.
ข่าวการศึกษาผู้ใหญ่. (2485). วิทยาจารย์. 42(1), 121 – 130.
ข่าวมิซซังภาคอีสาน. (1941). สารสาสน์. 25, 312.
ความตกลงระงับกรณีระหว่างประเทศไทยกับประเทศฝรั่งเศส, (2489, 9 ธันวาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 63.
โครงการจัดการศึกษาผู้ใหญ่ในดินแดนที่ไทยเข้าปกครอง. (2484). ข่าวโฆษณาการ. 4(3), 644–645.
โฆษณาการ, กรม. (2484). ประมวลข่าวราชการในกรณีพิพาทระหว่างประเทศไทยกับอินโดจีนฝรั่งเศส. พระนคร: โรงพิมพ์พานิชศุภผล. (พิมพ์เนื่องในงานพระราชทานเพลิงศพ คุณหญิงเล็กราชสีหยศ (ต.จ.) ณ เมรุวัดสระเกศ วันที่ 2 กันยายน พุทธศักราช 2484)
จัดระเบียบคณะสงฆ์ในเขตที่ยึดได้. (2484). ข่าวโฆษณาการ. 4(3), 720.
เฉลียว จันทรทรัพย์. (ม.ป.ป.). เหรียญพุทธคุณ ธรรมคุณ สังฆคุณ. ม.ป.ท.
ชาญวิทย์ เกษตรศิริ. (2551). ประวัติการเมืองไทยสยาม พ.ศ.2475 – 2500. พิมพ์ครั้งที่ 5, กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์.
ชาญวิทย์ เกษตรศิริ. (2553). (บรรณาธิการ) แม่: กลับจากบ้านโป่งถึงปากน้ำ. พิมพ์ครั้งที่ 2, กรุงเทพฯ: Dream Catcher Graphic.
ชาลี เอี่ยมกระสินธุ์. (2542). ศึกอินโดจีน. กรุงเทพฯ: เลิฟแอนด์ลิพเพรส.
ชัยเฉลิม นาคะประเวศ. (2554). ครั้งหนึ่งเมื่อนครจัมปาศักดิ์เป็นของเรา. พิมพ์ครั้งที่ 3, กรุงเทพฯ: รุ่งศิลป์การพิมพ์ (1977).
ดิเรก ชัยนาม. (2510). ไทยกับสงครามโลกครั้งที่ 2. พิมพ์ครั้งที่ 2, กรุงเทพฯ: แพร่พิทยา.
ถนอม โพธิ์ทองนาค. (2542). การปฏิบัติราชการสงครามกรณีพิพาทอินโดจีนฝรั่งเศส. อนุสรณ์งานพระราชทานเพลิงศพ พ.อ.ถนอม โพธิ์ทองนาค ณ ฌาปนสถานวัดโสมนัสวิหาร กรุงเทพฯวันจันทร์ 27 ธันวาคม พุทธศักราช พ.ศ. 2542
ถาวร ช่วยประสิทธิ์. (2549). ทหารเหลือใช้สงคราม. พิมพ์ครั้งที่ 2, กรุงเทพฯ: สารคดี.
ธรรมการ, กรม. (2483). แถลงการณ์คณะสงฆ์ เล่ม 28. ม.ป.ท.
บัญชร ชวาลศิลป์. (2549). จากใต้สู่อีสาน ผลึกแห่งชีวิต พล.อ.เปรม ติณสูลานนท์. กรุงเทพฯ: มติชน.
ประกาศสถาปนาสมเด็จพระวันรัตขึ้นเป็นสมเด็จพระสังฆราช, (2481, 15 พฤศจิกายน). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 55.
ประเสริฐ สุดบรรทัด. (2484). กองพันทหารเสือ บันทึกการรบกับอินโดจีนของฝรั่งเศส. อนุสรณ์งานพระราชทานเพลิงศพ พันโทประเสริฐ สุดบรรทัด ณ ฌาปนสถานวัดพระศรีมหาธาตุฯ บางเขน วันอาทิตย์ที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2523.
ผาสุก พงษ์ไพจิตร และคริส เบเกอร์. (2546). เศรษฐกิจการเมืองไทยสมัยกรุงเทพฯ. พิมพ์ครั้งที่ 3, กรุงเทพฯ: ซิลค์เวอร์ม.
แผน สุพรรณภูมิ. (2555). หลวงพ่อ 5 ยอดพระเกจิแห่งสยาม. กรุงเทพฯ: กอไผ่.
พรหม สูตรสุคนธ์. (2536). ชีวประวัตินายพรหม สูตรสุคนธ์. อนุสรณ์งานพระราชทานเพลิงศพนายพรหม สูตรสุคนธ์ ณ เมรุวัดมกุฏกษัตริยาราม วันอาทิตย์ที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2536.
พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พุทธศักราช 2484, (2484, 14 ตุลาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 58.
พระราชบัญญัติจัดการปกครองดินแดนที่ประเทศไทยได้คืนจากประเทศฝรั่งเศส พุทธศักราช 2484, (2484, 22 กรกฎาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 58.
พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลจังหวัดลานช้าง ศาลจังหวัดนครจัมปาศักดิ์ ศาลจังหวัดพิบูลสงคราม ศาลจังหวัดพระตะบอง พุทธศักราช 2484, (2484, 12 สิงหาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 58.
พุฒิพงศ์ พุฒตาลศรี. (2552). การเผยแผ่คริสต์ศาสนาในสมัยพระสังฆราชเรอเน มารี ยอแซฟ แปร์รอส พ.ศ.2452 – 2490. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต) กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ภูวมินทร์ วาดเขียน. (2561). “วิถีชีวิตและความเชื่อทางศาสนาของชาวไทยเชื้อสายเวียดนามชุมชนวัดพระคริสตประจักษ์ อำเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา” วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา. 6(2), 59–95.
โรงเรียนคาทอลิกสังกัดสังฆมณฑลจันทบุรี. ประวัติความเป็นมาของโรงเรียนคาทอลิกสังกัดสังฆมณฑลจันทบุรี (รสจ.). สืบค้นเมื่อ 29 มกราคม 2563, จาก http://www.escd.or.th/main/index.php/vision/9-2019-01-29-09-10-10/2-2019-01-29-09-17-05.
เลือดไทย. (ม.ป.ป.). พระนคร: อารยยุค.
วิศิษฎ์ จีระวุฒิ. (2509). สังเขปประวัติเจ้าพระคุณหลวงพ่อจง พุทฺธสฺสรมหาเถระ เจ้าอาวาสวัดหน้าต่างนอก.
อนุสรณ์ชีวิตหลวงพ่อจง ที่ระลึกในงานฌาปนกิจศพ วันที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2509.
สง่า จันทรสาขา. (2542). ชีวิตและการงาน. อนุสรณ์งานพระราชทานเพลิงศพนายสง่า จันทรสาขา ณ เมรุวัดพระศรี
มหาธาตุวรมหาวิหาร วันอังคารที่ 10 สิงหาคม พ.ศ. 2542.
สมบัติ ธำรงธัญวงศ์. (2554). การเมืองการปกครองไทย: พ.ศ.1762 – 2500. พิมพ์ครั้งที่ 6, กรุงเทพฯ: เสมาธรรม.
สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ (วาสนมหาเถร) สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก. (2554). บันทึกเรื่องต่าง ๆ วาสนา สมบัติ และเอกสารสำคัญบางฉบับของวัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม. กรุงเทพฯ: บริษัท พริ้นท์ ซิตี้ จำกัด.
สึกสาธิการ, กระซวง. (2484). รายงานการสึกสาผู้ใหย่ ประจำปีพุทธศักราช 2484. พระนคร: แย้มศรี.
สุรพศ ทวีศักดิ์. (2560). จากพุทธศาสนาแห่งรัฐสู่พุทธศาสนาที่เป็นอิสระจากรัฐ. กรุงเทพฯ: สยามปริทัศน์.
เสรี พงศ์พิศ. (2527). คาทอลิกกับสังคมไทย สี่ศตวรรษแห่งคุณค่าและบทเรียน. พิมพ์ครั้งที่ 2, กรุงเทพฯ: โกมลคีมทอง.
แสง นิ่มพฤทธิ์. (2501). ชีวประวัติของพระครูปลัดแฉ่ง ศีลปญฺญา (หลวงพ่อแฉ่ง) วัดศรีรัตนาราม (บางพัง) จังหวัดนนทบุรี. พิมพ์แจกในงานฌาปนกิจศพพระครูปลัดแฉ่ง ศีลปญฺญา ณ เมรุวัดมกุฏกษัตริยาราม วันอาทิตย์ที่ 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2501 กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย.
สำนักงานสารสาสน์. (2510). ประวัติพระศาสนจักรสากลและพระศาสนจักรในประเทศไทย. พระนคร: โรงพิมพ์บริษัทไทยหัตถการพิมพ์.
หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. (2483). เอกสารกระทรวงมหาดไทย มท.2.2.9/4 เรื่องสนับสนุนการเรียกร้องดินแดนคืนจังหวัดกาญจนบุรี (5 ธันวาคม 2483)
หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. (2483). เอกสารกระทรวงมหาดไทย มท.2.2.9/6 เรื่องสนับสนุนการเรียกร้องดินแดนคืนจังหวัดนราธิวาส (4 พฤศจิกายน 2483)
หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. (2483). เอกสารกระทรวงมหาดไทย มท.2.2.9/11 เรื่องคณะกรมการจังหวัพระนครศรีอยุธยา รายงานเรื่องได้มีการชุมนุมชน ณ วัดนิเวศน์ธรรมประวัติ แสดงตำนานปลุกใจประชาชนให้ทราบถึงเรื่องฝรั่งเศสรังแกไทยเมื่อร.ศ.112 (ตอน 1) (30 ตุลาคม 2483)
หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. (2483). เอกสารกระทรวงมหาดไทย มท.2.2.9/12 เรื่องสนับสนุนการเรียกร้องดินแดนคืนจังหวัดน่าน (28 ตุลาคม 2483)
หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. (2483). เอกสารกระทรวงมหาดไทย มท.2.2.9/14 เรื่องสนับสนุนการเรียกร้องดินแดนคืนจังหวัดปทุมธานี (ตอน 1) (21 ตุลาคม 2483)
หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. (2483). เอกสารกระทรวงมหาดไทย มท.2.2.9/16 เรื่องสนับสนุนการเรียกร้องดินแดนคืนจังหวัดอ่างทอง (ตอน 1) (4 พฤศจิกายน 2483, 29 มกราคม 2484, 31 มกราคม 2484)
หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. (2483). เอกสารกระทรวงมหาดไทย มท.2.2.9/21 เรื่องสนับสนุนการเรียกร้องดินแดนคืนจังหวัดภูเก็ต (29 ตุลาคม 2483)
หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. (2483). เอกสารกระทรวงมหาดไทย มท.2.2.9/25 เรื่องสนับสนุนการเรียกร้องดินแดนคืนจังหวัดนครสวรรค์ (9 พฤศจิกายน 2483)
หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. (2484). เอกสารกระทรวงมหาดไทย มท.2.2.3/75 เรื่องข้าหลวงประจำจังหวัดพระนครและธนบุรีรายงานเรื่องได้ไปเยี่ยมครอบครัวผู้ที่เปลี่ยนศาสนาในท้องที่อำเภอบางรัก (22 กุมภาพันธ์ 2484)
หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. (2484). เอกสารกระทรวงมหาดไทย มท.2.2.5/363 เรื่องคณะกรมการจังหวัดน่านรายงานเรื่องพระชยานันทมุนีเจ้าคณะจังหวัดน่าน พร้อมด้วยภิกษุสามเณรในท้องที่อำเภอสมาบุรีได้ประกอบพิธีทางศาสนาในวันวิสาขบูชา (19 พฤษภาคม 2484)
หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. (2484). เอกสารกระทรวงมหาดไทย มท.0601.4.2/571 เรื่องรายนามข้าราชการที่นับถือคริสต์ศาสนา (31 มกราคม 2484)
หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. (2484). เอกสารกระทรวงมหาดไทย มท.2.2.9/5 เรื่องสนับสนุนการเรียกร้องดินแดนคืนจังหวัดกำแพงเพ็ชร (18 มกราคม 2484)
หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. (2484). เอกสารกระทรวงมหาดไทย มท.2.2.9/13 เรื่องสนับสนุนการเรียกร้องดินแดนคืนจังหวัดน่าน (ตอน 2) (24 กุมภาพันธ์ 2484, 7 มีนาคม 2484, 18 เมษายน 2484)
หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. (2484). เอกสารกระทรวงมหาดไทย มท.2.2.9/15 เรื่องสนับสนุนการเรียกร้องดินแดนคืนจังหวัดปทุมธานี (ตอน 2) (5 กุมภาพันธ์ 2484, 19 กุมภาพันธ์ 2484)
หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. (2484). เอกสารกระทรวงมหาดไทย มท.2.2.9/17 เรื่องสนับสนุนการเรียกร้องดินแดนคืนจังหวัดอ่างทอง (ตอน 2) (13 กุมภาพันธ์ 2484)
หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. (2484). เอกสารกระทรวงมหาดไทย มท.2.2.9/27 เรื่องสนับสนุนการเรียกร้องดินแดนคืน เงินสมทบทุนซื้อเครื่องบิน จังหวัดนนทบุรี (9 มกราคม 2484)
หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. (2484). เอกสารกระทรวงศึกษาธิการ (2) ศธ.5/37 เรื่องแจ้งความกรมการศาสนามีกรมอื่นปนอยู่ด้วย พุทธศักราช 2484 (1 ธันวาคม 2484)
หอจดหมายเหตุแห่งชาติ. (2484). เอกสารกระทรวงศึกษาธิการ (2) ศธ.25/3741 เรื่องชักชวนให้ผู้ที่นับถือศาสนาอื่นโอนมานับถือพุทธศาสนา (25 สิงหาคม 2484)
หอจดหมายเหตุอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ. ความขัดแย้งกับชาวฝรั่งเศสในมิสซังกรุงเทพฯ. สืบค้นเมื่อ 18 ธันวาคม 2562, จากhttp://catholichaab.com/main/index.php/2015-09-22-02-53-59/2015-09-30-02-36-32/535-2015-10-19-07-18-59.
อภิญญา. (2553). พระเกจิ ‘จาด จง คง อี๋’ (1) โด่งดังยุคสงครามอินโดจีน. ข่าวสด. 17 ธันวาคม: 31.
Strate, S. (2011). An Uncivil State of Affairs: Fascism and Anti – Catholicism in Thailand, 1941 – 1944.
Journal of southeast Asian Studies 42(1), 59 – 87.