Physical Activities of the Elderly Monks in Sisaket Province

Main Article Content

เตชภณ ทองเติม
จีรนันท์ แก้วมา

Abstract

This research was designed to study the practice on physical activities of the elderly monks in Sisaket province of Thailand. The sample was 530 elderly Buddhist monks who were 50 to 69 years old. The simple random sampling and accidental sampling were used for this sampling. The instrument to gather the data was questionnaire. Data analysis was accomplished by using percentage, means and standard deviation. The followings were the research results: 1) physical activities of the elderly monks in Sisaket province was at the moderate level (74.15%), followed
by low level (20.00%) and high level (5.85%) respectively; 2) the elderly monks practiced on several physical activities, and the regular physical activities were walking for receiving food (74.00%), going upstairs and downstairs in the monk’s cell or the temple (64.70%) and washing by hand (64.50%) respectively; 3) most of these elderly monks never or hardly exercised by using the stationary bike or treadmill (86.80%), doing a light exercise such as petanque (81.90%), Practising Thai Hermit exercise or yoga (76.00%), nor using dumbbell or equipment for weight training (75.80%). In summary, the monks should be supported with the knowledge of exercise and the elderly monks had better be promoted about practicing on physical activities, especially an exercise by using equipment with no conflict to Buddhist principles.

Article Details

Section
Research Articles

References

กระทรวงสาธารณสุข กรมการแพทย์ โรงพยาบาลสงฆ์. (ม.ป.ป.). แนวทางเวชปฏิบัติการเคลื่อนไหวร่างกายการออกกำลังกายในพระสงฆ์. กรุงเทพฯ: สินทวีการพิมพ์.
กระทรวงสาธารณสุข กรมควบคุมโรค. (2556). ข้อมูลด้านการเจ็บป่วยของพระสงฆ์ที่มารักษาตัวที่โรงพยาบาลสงฆ์. สืบค้น 30 กันยายน 2561, จาก http://www.manager.co.th/Qol/ViewNews.aspx?NewsID= 9560000084790.
เตชภณ ทองเติม และ จีรนันท์ แก้วมา. (2562). ความรู้ และทัศนคติ ด้านการมีกิจกรรมทางกายของพระภิกษุสูงวัยในจังหวัดศรีสะเกษ. การประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติราชธานีวิชาการ ครั้งที่ 4“การวิจัยเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน”, 31 พฤษภาคม 2562. (น. 465-478). อุบลราชธานี : มหาวิทยาลัยราชธานี.
เตชภณ ทองเติม อังศุธร อังคะนิต และจีรนันท์ แก้วมา. (2556). พฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพของผู้สูงวัยตำบลขะยูง อำเภออุทุมพรพิสัย จังหวัดศรีสะเกษ. การประชุมวิชาการการนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต “การวิจัยแบบบูรณาการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นสู่สากล”, 8-9 พฤษภาคม 2556. (น. 31-45). ภูเก็ต : มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต.
เตชภณ ทองเติม. (2557). การศึกษาภาวะทุพพลภาพของพระภิกษุสูงวัยในจังหวัดศรีสะเกษ (รายงานการวิจัย). ศรีสะเกษ: มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ.
นัทธพงศ์ ลัทธพินันท์. (2560). ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการบริโภคและกิจกรรมทางกายของพระภิกษุไทย (วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ปัณณธร ชัชวรัตน์. (2553). ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมสุขภาพของพระสงฆ์ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดพะเยา (รายงานการวิจัย). พะเยา: วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีพะเยา. พระกิตติญาณเมธี (สมเกียรติ รามัญวงศ์), วราภรณ์ ทรัพย์รวงทอง และสมบูรณ์ สุขสำราญ. (2561). การส่งเสริมการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมของพระสงฆ์ในจังหวัดลพบุรี. วารสารรัชต์ภาคย์.
12(25), 94-107.
มินภัทร คำชะนาม. (2552). พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของพระสงฆ์ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม (วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต). นครปฐม: มหาวิทยาลัยศิลปากร.
มินตรา สาระรักษ์ วรารัตน์ สังวะลี และวิลาศ คำแพงศรี. (2560). ความชุกและปัจจัยที่สัมพันธ์กับการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังของพระภิกษุสงฆ์ อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. 19(1), 37-48.
รัตนา ทิพย์หิรัญ, สุรีย์รัตน์ แซ่คู, มาลินี พีรนันทปัญญา, นุชรี จันทร์เอี่ยม, ชไมพร ทวิชศรี และชยันตร์ธร ปทุมานนท์.(ม.ป.ป.). ปัญหาสุขภาพของพระภิกษุสงฆ์และสามเณรที่รับไว้รักษาในโรงพยาบาลล?ำพูน. ม.ป.ท.
โรชินี อุปรา และทักษิกา ชัชวรัตน์. (2559). โรคเรื้อรัง: ผลกระทบต่อสุขภาพพระสงฆ์และแนวทางการส่งเสริมสุขภาพ. วารสารการพยาบาล การสาธารณสุข และการศึกษา. 17(3), 17-23.
ศิริพร พรพุทธษา. (2542). ความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมในการป้องกันภาวะหกล้มของผู้สูงอายุ (วิทยานิพนธ์ปริญญาพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต). เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
สนธนา สีฟ้า. (2560). การศึกษาพฤติกรรมการสร้างเสริมสุขภาพของพระภิกษุ ในจังหวัดปัตตานี (วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต). สงขลา: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.). (2561). พระสงฆ์ก็ออกกำลังกายได้. สืบค้น 20 กันยายน 2561, จากhttps://www.thaihealth.or.th/Infographic/detail/37502/%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%AA%E0%B8%87%E0%B8%86%E0%B9%8C%E0%B8%81%E0%B9%87%E0%B8%AD%E0%B8%AD%E
0%B8%81%E0%B8%81%E0%B8%B3%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B9%84%E0%B8%94%E0%B9%89/ สำนักงานเจ้าคณะจังหวัดอ่างทอง, สำนักสาธารณสุขจังหวัดอ่างทอง และสถาบันการพลศึกษา
วิทยาเขตอ่างทอง. (2548). คู่มือการสร้างเสริมสุขภาพสำหรับพระภิกษุสูงวัยตามแนวพระพุทธศาสนา. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ.
สุชาดา วงศ์สืบชาติ. (2554). พฤติกรรมการดูแลสุขภาพของพระสงฆ์ในกรุงเทพมหานคร: กรณีศึกษาวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฏิ์ วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม และวัดปากน้ำภาษีเจริญ (วิทยานิพนธ์ปริญญาพุทธศาสตรมหาบัณฑิต). พระนครศรีอยุธยา: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
สุวัตสัน รักขันโท, อเนก คงขุนทด และสุมาลัย กาญจนะ. (2551). พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของพระภิกษุในเขตภาคใต้ตอนบน. ม.ป.ท.: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย.
สุวิมล พลวรรณ. (2552). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตของพระสงฆ์ที่อาพาธด้วยโรคเรื้อรัง จังหวัดสระบุรี (วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต). นครปฐม: มหาวิทยาลัยมหิดล.
Cochran, W.G. (1953). Sampling Techiques. New York : John Wiley & Sons.
Cronbach, L. J. (1990). Essentials of psychological testing. 5th ed. New York : Harper Collins. Purakom, A., Nakornkhet K, Tanoomsuk, T., Pupanead, S., and Carvalho, M.J. (2013). Association of physical activity, functional fitness and mental fitness among older adults in Nakornpathum, Thailand : A Pilot study. ISBNPA,
May 22-25th, Belgium : Ghent.