การพัฒนาการเรียนรู้ด้วยระบบเกษตรผสมผสานของนักเรียนโรงเรียนเจ้าฟ้าอุบลรัตน์ ตำบลเชียงดาว อำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ (Learning Development by Integrated Agriculture System of Princess Ubolratana School’s Student, Chiang Dao Sub-district, Chiang Dao district, Chiang Mai, Thailand)

Main Article Content

ณฐิตากานต์ ปินทุกาศ

Abstract

       This study aimed to promote student’s agricultural learning experience using the action plan of integrated farming and agricultural skills in schools. The specific target population of this study was 54 students (M.1-3) from Agriculture Club. The duration of this study was within fiscal year 2017. The result showed that attitudes of students who participated in the promotion of integrated agriculture in the highland areas were positive. All students viewed the plan as being practical and a good tool to encourage knowledge sharing and teamwork skill. Moreover, 100% of them perceived doing a farm as a promising career; and 96.30% of them agreed that farming was a main source of their family’s income. Also 100% of them found that pesticide free vegetables were safe for cooking.
       Students learned how to grow integrated vegetables farming which is a good learning source in school and learning source for outsiders. Moreover, students learned to work in groups based on a step-by-step method of growing vegetables. Harmonious and well-coordinated relationship between students, teachers, and communities were encouraged, as well. People in the community tend to concern more about their own health, sufficiency learning, and apply this practice at the household level.

Article Details

Section
Research Articles

References

กรมส่งเสริมการเกษตร. (2537). ทางเลือกการผลิตทางการเกษตรโครงการปรับโครงสร้างและระบบการผลิต การเกษตร.
กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
กรมอาชีวะศึกษา. (2539). แผนจัดการเรียนรู้. กรุงเทพฯ: หน่วยศึกษานิเทศก์ กรมอาชีวศึกษา (อัดสำเนา).
กาญจนา วัฒนายุ. (2547). เทคนิคการเขียนแผนการเรียนการเรียนรู้และการวิจัยในชั้นเรียนรู้. สถานที่พิมพ์: สำนักงานกลุ่ม
โรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษากลุ่มที่ 6.
ดิเรก ฤกษ์สาหร่าย. (2527). การส่งเสริมการเกษตร. กรุงเทพฯ: ไทยพาวัฒนาพาณิชย์.
ดุษฎี ณ ลำปาง. (2543). การวางแผนและประเมินผลโครงการส่งเสริมการเกษตร. เชียงใหม่: ภาควิชาการส่งเสริมและเผยแพร่
การเกษตร คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
บุญธรรม จิตต์อนันต์. (2536). ส่งเสริมการเกษตร. สำนักส่งเสริมและฝึกอบรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์
ชวนพิมพ์.
บูรชัย ศิริมหาสาคร. (2545). แผนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง. กรุงเทพฯ: บุ๊คพอยท์.
วัฒนาพร ระงับทุกข์. (2543). แผนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง. กรุงเทพฯ: วัฒนาพานิช.
วิจิตร อาวะกุล. (2535). หลักการส่งเสริมการเกษตร. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพาณิชย์.
วิมลรัตน์ สุนทรโรจน์. (2549). นวัตกรรมเพื่อการเรียนรู้. กรุงเทพฯ: ช้างทอง.
วิรัชฏ์ คงคะจันทร์. (2535). หลักการส่งเสริมการเกษตร. กรุงเทพฯ: ที.พี. พริ้นท์.
เสมอแข อภิรมยานนท์. (2555). การจัดการความรู้เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้วิชาภาษาไทยของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
โรงเรียนบ้านแม่แสะ อำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ (ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตมหาวิทยาลัย). เชียงใหม่: มหาวิทยาลัล
เชียงใหม่.
อาภรณ์ ใจเที่ยง. (2540). หลักการสอน. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.