การประยุกต์ใช้สังคหวัตถุธรรมกับความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กร

ผู้แต่ง

  • เสกสรร มนทิราภา นักวิชาการอิสระ

คำสำคัญ:

สังคหวัตถุธรรม, ความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กร, การพัฒนาที่ยั่งยืน

บทคัดย่อ

บทความวิชาการนี้มุ่งนำเสนอหลักสังคหวัตถุธรรม ซี่งเป็นหลักธรรมที่เป็นการสงเคราะห์กันในสังคม เป็นธรรมที่ใช้ยึดเหนี่ยวจิตใจคนและประสานให้เกิดความรัก ความสามัคคีในสังคม ด้วยการให้ แบ่งปัน สิ่งของ ความรู้ วาจาไพเราะ ไม่บิดเบือนข้อมูลข่าวสาร การช่วยเหลือเกื้อกูล บำเพ็ญประโยชน์ เสียสละ ตลอดจนความเสมอต้นเสมอปลาย เสมอภาค ยุติธรรม กับ ชุมชน สังคม และประเทศชาติ ด้วยการช่วยเหลือสังคมขององค์กร (Corporate Social Responsibility) หรือ CSR ซึ่งเป็นแนวคิดสากลที่ได้รับการนิยมอย่างกว้างขวาง องค์กรที่ดำเนินธุรกิจมิต้องการเพียงผลกำไรเพียงอย่างเดียว ยังคงต้องคำนึงถึงผลกระทบต่างๆ ที่เกี่ยวกับผู้มีส่วนได้เสีย ชุมชน สังคม สิ่งแวดล้อม CSR มีขอบเขตที่นอกเหนือจากการบริจาคหรือการให้อย่างที่คุ้นเคยกัน ยังมีขอบเขตในด้านการใช้ทรัพยากรให้คุ้มค่า การดูผลกระทบของสิ่งแวดล้อมอย่างมีคุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณ เกิดการดำเนินการที่เสริมสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันและส่งผลดีต่อการพัฒนาที่ยั่งยืนขององค์กร

References

นพดล ดีไทยสงค์. (2563). คนรักเท่าผืนหนัง คนชังเท่าผืนเสื่อ: บริหารคนในองค์กรอย่างไรให้มีคนรักมากกว่าคนชัง. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์, 9(3), 332-343.

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). (2559). ธรรมนูญชีวิต (พิมพ์ครั้งที่ 141). กรุงเทพฯ: ธรรมสภา.

พระธรรมโกศาจารย์(ประยูร ธมฺมจิตฺโต). (2549). พุทธวิธีการบริหาร. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

สมศักดิ์ สามัคคีธรรม. (2561). ธรรมาภิบาลและความรับผิดชอบต่อสังคม. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

สถาบันธุรกิจเพื่อสังคม (Corporate Social Responsibility Institute : CSRI) ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. (2555). แนวทางความรับผิดชอบต่อสังคมของกิจการ. กรุงเทพ: บริษัท เมจิกเพรส จำกัด.

เอสซีจี. (2553). CSR ด้วยหัวใจใครๆ ก็ทำได้ (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: เอสซีจี.

Freeman. (1984). Strategic Management: A Stakeholder Approach. Boston: Pitman.

Hamidu et. al. (2015) . Corporate Social Responsibility: A Review on Definitions, Core Characteristics and Theoretical Perspectives. Mediterranean. Journal of Social Sciences, 6(4), 85-87.

Porter et al. (2006). Strategy and Society: The Link Between Competitive Advantage and Corporate Social Responsibility. Retrieved March 20, 2020, from https://www.researchgate.net/publication/6616248_Strategy_and_Society_The_Link_Between_Competitive_Advantage_and_Corporate_Social_Responsibility

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-09-19

How to Cite

มนทิราภา เ. (2021). การประยุกต์ใช้สังคหวัตถุธรรมกับความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กร. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์, 10(3), 360–370. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jssr/article/view/252562