ธรรมาธิปไตย : อุดมคติเพื่อการสร้างความสมดุลแห่งอำนาจ ในการปกครองรัฐ
คำสำคัญ:
ธรรมาธิปไตย, อุดมคติ, ความสมดุลแห่งอำนาจ, การปกครองรัฐบทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาแนวคิดแบบธรรมาธิปไตย 2) ศึกษาองค์ประกอบของธรรมาธิปไตย 3) เสนอธรรมาธิปไตยอุดมคติเพื่อการสร้างความสมดุลแห่งอำนาจในการปกครองรัฐ การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงเอกสาร ผลการวิจัยพบว่า 1)ธรรมาธิปไตยคือการถือธรรมเป็นใหญ่ ยึดถือความถูกต้องชอบธรรมเป็นใหญ่ ใช้สนับสนุนการปกครอง
2) องค์ประกอบของธรรมาธิปไตยประกอบด้วย 2.1) ธรรมฐิติ 2.2) ธรรมนิติ 2.3) ธรรมมติ และ 3) ธรรมาธิปไตยในอุดมคติ ได้แก่ 3.1) ผู้ปกครองรัฐจะต้องยึดมั่นตั้งมั่นในธรรม ยึดเอาความถูกต้องชอบธรรมเป็นใหญ่ในการสร้างความสมดุลแห่งอำนาจในการปกครองรัฐ 3.2) ต้องสร้างระบบและกฎหมายในการปกครองรัฐที่ชอบธรรม 3.3) มีมติที่เป็นธรรม
References
Buddhathatphikkhu. (1988). Politics is Dhamma. 2nd Edition. Bangkok : Arunvitthaya.
Phradhammakittivong (Thongdee Suratecho). (2005). The Word of Monastery : Dictionary for Buddhism Education. Bangkok : Liang Chiang Press.
Phradhampidok (P.A. Payutto). (2000). Dictionary of Buddhism. 9th Edition. Bangkok : Mahachulalongkornrajavidyalaya University Press.
Phrasripariyatmoli (Somchai kusalachitto). (2004). 1 Contemporary Buddhism. 2nd Edition. Bangkok : Mahachulalongkornrajavidyalaya University Press.
Pratepdilok (Rabob Dhitayano). (N/A). Buddhism and constitution. Bangkok : Thai Buddhism Promotion Center.
Royal Academy. (2003). Dictionary of Royal Academy B.E.2542. Bangkok : Nanmeebooks Publication.
Surapon Suyaprom. (2017). The Study of Citizenship for Democracy Promotion in Locality. Journal of MCU Social Science Review, 6 (2), 85-100.
V. Vachiramethi. (2008). Dhammadhipateyya. Bangkok : Postbooks.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2019 วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมายลิขสิทธิ์ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องลงลายมือชื่อในแบบฟอร์มใบมอบลิขสิทธิ์บทความให้แก่วารสารฯ พร้อมกับบทความต้นฉบับที่ได้แก้ไขครั้งสุดท้าย นอกจากนี้ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องยืนยันว่าบทความต้นฉบับที่ส่งมาตีพิมพ์นั้น ได้ส่งมาตีพิมพ์เฉพาะในวารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์ เพียงแห่งเดียวเท่านั้น หากมีการใช้ภาพหรือตารางหรือเนื้อหาอื่นๆ ของผู้นิพนธ์อื่นที่ปรากฏในสิ่งตีพิมพ์อื่นมาแล้ว ผู้นิพนธ์ต้องขออนุญาตเจ้าของลิขสิทธิ์ก่อน พร้อมทั้งแสดงหนังสือที่ได้รับการยินยอมต่อบรรณาธิการ ก่อนที่บทความจะได้รับการตีพิมพ์ หากไม่เป็นไปตามข้อกำหนดเบื้องต้น ทางวารสารจะถอดบทความของท่านออกโดยไม่มีข้อยกเว้นใดๆ ทั้งสิ้น