ความเชื่อมั่นต่อคำบอกเล่าของประจักษ์พยานจากสื่อสังคมออนไลน์

Main Article Content

ปรีชา บุตรรัตน์
วิเชียร แสนมี
ประภาส แก้วเกตุพงษ์

บทคัดย่อ

จากปัญหาความเชื่อมั่นต่อคำบอกเล่าของประจักษ์พยานซึ่งเป็นปัญหาโดยตรงของญาณวิทยาทางสังคม ในกรณีของความเชื่อมั่นต่อคำบอกเล่าของประจักษ์พยานจากสื่อสังคมออนไลน์ พบว่ามีคำบอกเล่าของประจักษ์พยานอยู่สองประเภท ประเภทแรก คำบอกเล่าของประจักษ์พยานที่ไม่ถือว่าเป็นประจักษ์พยานหรือหลักฐานทางสังคมได้ และประเภทที่สอง คำบอกเล่าของประจักษ์พยานที่สามารถเป็นประจักษ์พยานได้ ซึ่งคำบอกเล่าของประจักษ์พยานประเภทนี้สามารถเชื่อถือได้ เนื่องจากมีเหตุผลรองรับ และการประเมินความเชื่อมั่นต่อคำบอกเล่าของประจักษ์พยานต้องอาศัยหลักฐานทางสังคมอื่น ๆ เช่น ความเชื่อ บรรทัดฐานทางสังคม และชุมชน เพื่อประกอบการเป็นส่วนหนึ่งในการประเมินความเชื่อมั่นต่อคำบอกเล่าของประจักษ์พยาน

Article Details

How to Cite
บท
บทความวิจัย / บทความวิชาการ

References

ณัฏฐกาญจน์ ศุกลรัตนเมธี, และนุชประภา โมกข์ศาสตร์. (2562). การรู้เท่าทันสื่อสงัคมออนไลน์ของเยาวชนเพื่อการเป็นพลเมืองในสงัคมประชาธิปไตย. กรุงเทพฯ: สำนักวิจัยและพัฒนา สถาบันพระปกเกล้า.

โต๊ะข่าวไอที-ดิจิทัล. (2564, 25 กรกฎาคม). เปิดสถิติคนไทยเสพติด 'ออนไลน์ โซเชียล' สูงติดอันดับโลกกรุงเทพธุรกิจ. สืบค้นจาก https://www.bangkokbiznews.com/tech/950958

ศิรประภา ชวะนะญาณ. (2564). มิติเชิงสังคมของความรู้: ญาณวิทยาเชิงสังคม. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Chadwick, A., & Vaccari, C. (2019). News sharing on UK social media: Misinformation, disinformation, and correction. Loughborough: Online Civic Culture Centre, Loughborough University.

Coady, C. A. J. (1992). Testimony: A philosophical study. New York: Oxford University Press.

DiFonzo, N., & Bordia, P. (2007). Rumor, gossip and urban legends. Diogenes, 54(1), 19-35.

Dormandy, K. (Ed.). (2019). Trust in Epistemology. London: Routledge.

Godler, Y., Reich, Z., & Miller, B. (2020). Social epistemology as a new paradigm for journalism and media studies. New Media & Society, 22(2), 213-229.

Lackey, J. (2006). The nature of testimony. Pacific Philosophical Quarterly, 87(2), 177-197.

Lackey, J. (2008). Learning from words: Testimony as a source of knowledge. Oxford: Oxford University Press.

Lackey, J. (2010). Learning from words: Testimony as a source of knowledge. Oxford: Oxford University Press.

Lazer, D. M. J., Baum, M. A., Benkler, Y., Berinsky, A. J., Greenhill, K. M., Menczer, F., … Zittrain, J. L. (2018). The science of fake news. Science, 359(6380), 1094-1096.

Magnus, P. D. (2009). On trusting Wikipedia. Episteme, 6(1), 74-90.

Pennycook, G., & Rand, D. G. (2019). Lazy, not biased: Susceptibility to partisan fake news is better explained by lack of reasoning than by motivated reasoning. Cognition, 188, 39-50.

Shu, K., Bhattacharjee, A., Alatawi, F., Nazer, T. H., Ding, K., Karami, M., & Liu, H. (2020). Combating disinformation in a social media age. Wiley Interdisciplinary Reviews: Data Mining and Knowledge Discovery, 10(6), e1385.

Sosa, E. (1991). Knowledge in perspective: Selected essays in epistemology. Cambridge: Cambridge University Press.

Tollefsen, D. P. (2009). Wikipedia and the Epistemology of Testimony. Episteme, 6(1), 8-24.

Zollman, K. J. (2013). Network epistemology: Communication in epistemic communities. Philosophy Compass, 8(1), 15-27.