การพัฒนาชุดฝึกทักษะครูช่างอุตสาหกรรมเพื่อสอนเป็นภาษาอังกฤษตามแนวคิดการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการเนื้อหาและภาษา (CLIL)
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาชุดฝึกทักษะครูช่างอุตสาหกรรมเพื่อสอนเป็นภาษาอังกฤษ ตามแนวคิด CLIL 2) ศึกษาผลสัมฤทธิ์ของชุดฝึก และ 3) ศึกษาความคิดเห็นที่มีต่อชุดฝึก กลุ่มตัวอย่างคือครูช่างอุตสาหกรรม จำนวน 6 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1) แบบสำรวจปัญหาและความต้องการ 2) ชุดฝึกอบรมจำนวน 10 ชุด 3) แบบวัดผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้ 4) แบบสัมภาษณ์แบบไม่มีโครงสร้าง และ 5) แบบประเมินความพึงพอใจ วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์เนื้อหา วิเคราะห์ประสิทธิภาพ (E1/E2) และวิเคราะห์หาค่า t-test (Dependent Sample) ผลการวิจัยพบว่า 1) กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีปัญหาด้านภาษาอังกฤษ 2) ผลการพัฒนาชุดฝึกได้ชุดฝึกจำนวน 3 โมดูล รวม 10 ชุดฝึก และ 3) ผลการนำชุดฝึกไปใช้ พบว่า3.1) ประสิทธิภาพของชุดฝึกสูงกว่าเกณฑ์ E1/E2 เท่ากับ 80/80 3.2) กลุ่มตัวอย่างมีความรู้ความเข้าใจอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.00 3.3) กลุ่มตัวอย่างมีความสามารถในการจัดทำแผนจัดการเรียนรู้ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.00 3.4) กลุ่มตัวอย่างเชื่อว่า มีความเป็นไปได้ในการนำวิธีการจัดการเรียนรู้แบบ CLIL ไปใช้ และ 3.5) กลุ่มตัวอย่างมีความคิดเห็นต่อชุดฝึกอยู่ในระดับพึงพอใจมากที่สุด โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.58 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.41
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
- ข้อความรู้ใดๆ ตลอดจนข้อคิดเห็นใดๆ เป็นของผู้เขียนแต่ละท่านโดยเฉพาะ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร และกองบรรณาธิการวารสารมนุษยศาสตร์ฯ ไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
- บทความใดๆ ที่ตีพิมพ์ในวารสาร ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารมนุษยศาสตร์ หากต้องการตีพิมพ์ซ้ำต้องได้รับอนุญาตก่อน
References
กระทรวงศึกษาธิการ. (2546). คำสั่งกระทรวงศึกษาธิการที่ สพฐ. 43/2546 เรื่อง แก้ไขเพิ่มเติมนโยบาย หลักเกณฑ์ และวิธีจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรกระทรวงศึกษาธิการเป็นภาษาอังกฤษ. สืบค้น 12 สิงหาคม 2559, จาก https://www.cpw.ac.th/CPW_Document/circular-146951466520160726023105.pdf
ฐิติมา เสนาจิตต์, และ จุฑามณี ตระกูลมุทุตา. (2560). สภาพปัญหาการดำเนินโครงการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรกระทรวงศึกษาธิการเป็นภาษาอังกฤษแบบ MEP กรณีศึกษาเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา จังหวัดสงขลา. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยธนบุรี, 11(24), 75-80.
ทัตทริยา เรือนคํา, และ ยุทธศักดิ์ ชื่นใจชน. (2559). การสํารวจการรับรู้การเรียนภาษาอังกฤษเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะของวิทยาลัยพณิชยการบึงพระพิษณุโลก. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏลําปาง, 5(2), 77-94.
ทำไมคะแนนทักษะการใช้ภาษาอังกฤษของคนไทยจึงย่ำแย่มาติดกัน 8 ปีแล้ว. (2561, 5 พฤศจิกายน). บีบีซี นิวส์ ไทย. สืบค้น 5 มีนาคม 2563, จาก https://www.bbc.com/thai/thailand-46093794
นิสากร จารุมณี, และ สุธิศา ส่งศรี. (2560). สภาพปัจจุบัน ปัญหาและความต้องการในการจัดการเรียนการสอนหลักสูตร Mini English Program ในสถานศึกษาอาชีวศึกษาในภาคใต้ของประเทศไทย (วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต). สงขลา: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. สืบค้นจาก http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/12066
พรพิมล ประสงค์พร. (2557). การเสริมสร้างสมรรถนะของครูในการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษตามแนวคิดการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการเนื้อหาและภาษา (CLIL). วารสารศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 37(3), 81-88.
รุ่งระวี สมะวรรธนะ. (2553). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนสุขศึกษาโดยใช้ภาษาอังกฤษเป็นสื่อตามทฤษฎีการเรียนรู้เน้นประสบการณ์และแนวคิดการบูรณาการเนื้อหากับภาษา เพื่อเสริมสร้างพฤติกรรมสุขภาพและความสามารถในการสื่อสารเป็นภาษาอังกฤษของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น (วิทยานิพนธ์ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สืบค้นจาก http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/21321
สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. (2562). รายงานการติดตามและประเมินผลนโยบายการส่งเสริมการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ เพื่อรองรับ Thailand 4.0. กรุงเทพฯ: สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.
Alipichev, A. Y., Galushkin, A. A., Dronova, S. Y., & Panfilova, E. A. (2017). Toward Successful Implement of CLIL Course in Russian University. XLinguae Journal, 10(4), 345-356.
Almenta, E. (2011). CLIL Teacher Training Across Europe. Current State of the Art, Good practices and Guidelines for the Future. Retrieved December 20, 2018, from https://www.academia.edu/1712187
Bentley, K. (2010). The TKT Course CLIL Module. Cambridge: Cambridge University Press.
Bertaux, P., Coonan, C. M., Frigols-Martín, M. J., & Mehisto, P. (2010). The CLIL Teacher’s Competence Grid. Retrieved October 3, 2017, from http://tplusm.net/CLIL_Competences_Grid_31.12.09.pdf
British Council. (2013). CLIL: A lesson plan. Retrieved January 2, 2018, from https://www.teachingenglish.org.uk/sites/teacheng/files/CLIL%20a%20lesson%20plan.pdf
Education First. (2021). The World’s Largest Ranking of Countries and Regions by English Skills. Retrieved December 20, 2021, from https://www.ef.co.th/epi/
Hillyard, S. (2011). First steps in CLIL: Training the teachers. Latin American Journal of Content & Language Integrated Learning, 4(2), 1-12.
Iprase. (2015). TKT CLIL lesson plan. Retrieved January 3, 2018, from https://www.iprase.tn.it/lesson-plan
Johnson, J. (2022). Most Common Languages Used on the Internet 2020. Retrieved January 28, 2022, from https://www.statista.com/statistics/262946/most-common-languages-on-the-internet/#:~:text=As%20of%20January%202020,%20English,percent%20of%20global%20internet%20users
Kewara, P. (2017). Phrasebook: A Way Out for CLIL Teachers in Thailand. Latin American Journal of Content & Language Integrated Learning, 10(1), 49-73.
Krashen, S. D., & Terrell, T. D. (1983). The natural approach: Language acquisition in the classroom. Hayward, Calif: Alemany Press.
Lesca, U. (2012). An Introduction to CLIL Notes Based on a CLIL Course at British Study Center – Oxford. Retrieved November 7, 2017, from https://www.itis.biella.it/europa/pdf-europa/CLIL_Report.pdf
Mehisto, P., Marsh, D., & Frigols, M. J. (2008). Uncovering CLIL: Content and Language Integrated Learning in Bilingual and Multilingual Education. London: Macmillan Publishers.
Meyer, O. (2010). Towards quality CLIL: successful planning and teaching strategies. Pulso, 10, 11-29.
Montalto, S. A., Walter, L., Theodorou, M., & Chrysanthou, K. (2016). The CLIL Guidebook. Retrieved 10 November 2017, from https://www.daimon.org/lib/ebooks/CLIL-Book-En.pdf
Peachey, N. (n.d). Content-Based Instruction. Retrieved April 11, 2017, from https://www.teachingenglish.org.uk/article/content-based-instruction
Statista. (2021). The Most Spoken Languages Worldwide 2021. Retrieved December 15, 2021, from https://www.statista.com/statistics/266808/the-most-spoken-languages-worldwide/