มโนทัศน์ทางวัฒนธรรมจีนในแบบเรียนวิชาภาษาจีนชุดภาษาจีนวันละนิด

Main Article Content

อรณิศา อุรพีพัฒนพงศ์
สุรสิทธิ์ อมรวณิชศักดิ์
วุฒิพงษ์ ประพันธมิตร

บทคัดย่อ

แบบเรียน นอกจากมีหน้าที่ในการเป็นสื่อทางการศึกษาแล้ว ยังคงดำรงบทบาทเป็นเครื่องมือทางอำนาจในการสื่อสารเพื่อสร้างการรับรู้มโนทัศน์บางประการแก่ผู้เรียนอีกด้วย บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อรวบรวมมโนทัศน์ทางวัฒนธรรมจีนที่ปรากฏในแบบเรียนวิชาภาษาจีนชุด ภาษาจีนวันละนิด และวิเคราะห์อำนาจของเนื้อหาและตัวบทในการกล่อมเกลามโนทัศน์ทางวัฒนธรรมจีนแก่ผู้เรียนชาวไทย ผลการวิจัยพบว่า แบบเรียนภาษาจีนชุดภาษาจีนวันละนิด ปรากฏมโนทัศน์ทางระเบียบวัฒนธรรมจีนกล่อมเกลาแก่ผู้เรียนชาวไทยใน 3 ประเด็น คือ วัฒนธรรมเชิงสัมฤทธิ์ผล วัฒนธรรมเชิงข้อมูล และวัฒนธรรมเชิงพฤติกรรม ทั้งนี้ ผลการศึกษายังสะท้อนให้เห็นว่า แบบเรียนไม่ได้เน้นให้เพียงความรู้ด้านทักษะทางภาษาจีนเท่านั้น หากแต่ยังแฝงไว้ซึ่งอำนาจละมุนในฐานะเจ้าของชุดความรู้ เพื่อหยิบยื่นมโนทัศน์การรับรู้ทางวัฒนธรรมจีนแก่ผู้เรียนชาวไทยอีกด้วย

Article Details

How to Cite
บท
บทความวิจัย / บทความวิชาการ

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2556). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้ภาษาจีนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ สกสค.ลาดพร้าว.

นิธิ เอียวศรีวงศ์. (2557). ชาติไทย เมืองไทย แบบเรียน และอนุสาวรีย์ (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: มติชน.

พงศกร เมธีธรรม. (2560). ภาษาอังกฤษ: อำนาจ และการครอบงำ. พิษณุโลก: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยนเรศวร.

พิมพาพร พึ่งพระ. (2554). การวิเคราะห์เนื้อหาทางภาษาและวัฒนธรรมที่ปรากฏในสื่อการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 (วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

ศรัญญา วาหะรักษ์. (2557). การนำเสนอวัฒนธรรมในหนังสือเรียนภาษาอังกฤษชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายและการรับรู้ของครู (วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต). สงขลา: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.

Hammerly, H. (1982). Synthesis in Second Language Teaching: An Introduction to Linguistics. Blaine, WA: Second Language Publications.

Walker, G. (2000). Performed Culture: Learning to Participate in Another Culture. In R. D. Lambert & E. Shohamy (eds), Language Policy and Pedagogy: Essays in Honor of Richard Lambert. Amsterdam: John Benjamins Publishing Company.

Zeng, M. (2019). The Comparison between the Teaching Materials of “Everyday Chinese” and the New HSK Examination Outline (Master’s thesis). Chongqing: Sichuan International Studies University. [in Chinese]

Zhang, J. (2017). Teaching Animation Game Design of “Everyday Chinese”——Textbook for Thailand Middle School (Master’s thesis). Harbin: Harbin Normal University. [in Chinese]

Zheng, Y. (2011). Behavioral Culture in the Chinese Language Classroom (Master’s thesis). Columbus, OH: The Ohio State University.

Zhu, R., & Feng, L. (2016). Everyday Chinese 1. Beijing: Beijing Language and Culture University Press. [in Chinese]

Zhu, R., & Feng, L. (2016). Everyday Chinese 2. Beijing: Beijing Language and Culture University Press. [in Chinese]

Zhu, R., & Feng, L. (2016). Everyday Chinese 3. Beijing: Beijing Language and Culture University Press. [in Chinese]

Zhu, R., & Feng, L. (2016). Everyday Chinese 4. Beijing: Beijing Language and Culture University Press. [in Chinese]

Zhu, R., & Feng, L. (2018). Everyday Chinese 5. Beijing: Beijing Language and Culture University Press. [in Chinese]

Zhu, R., & Feng, L. (2018). Everyday Chinese 6. Beijing: Beijing Language and Culture University Press. [in Chinese]

Zhu, R., & Feng, L. (2019). Everyday Chinese 7. Beijing: Beijing Language and Culture University Press. [in Chinese]

Zhu, R., & Feng, L. (2019). Everyday Chinese 8. Beijing: Beijing Language and Culture University Press. [in Chinese]