สัญญะที่สื่ออุดมการณ์ในเพลงมาร์ชประจำโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา

Main Article Content

ญาศิณี บุญมา
อรทัย ชินอัครพงศ์

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสัญญะที่สื่ออุดมการณ์ในเนื้อร้องเพลงมาร์ชประจำโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาของโรงเรียนประจำจังหวัดจำนวนทั้งหมด 48 เพลง โดยนำแนวคิดทฤษฎีเรื่องสัญศาสตร์ (Peirce, 1902) และแนวคิดเรื่องอุดมการณ์ (van Dijk, 2000, 2006) มาประยุกต์ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล จากผลการวิจัยพบว่ามีสัญญะที่สื่ออุดมการณ์ 6 ประเภท ได้แก่ สี ตราสัญลักษณ์เครื่องหมายโรงเรียน ธง เลือด วัตถุหรือสถานที่ทางศาสนา และสิ่งของอื่น ๆ ทั้งนี้สัญญะดังกล่าวยังสื่อถึงอุดมการณ์ 2 อุดมการณ์ ได้แก่ อุดมการณ์คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียน และอุดมการณ์ความภาคภูมิใจในโรงเรียน

Article Details

How to Cite
บท
บทความวิจัย / บทความวิชาการ

References

กาญจนา แก้วเทพ. (2553). แนวพินิจใหม่ในสื่อสารศึกษา. กรุงเทพฯ: ภาพพิมพ์.

กาญจนา แก้วเทพ. (2555). สื่อเก่า-สื่อใหม่: สัญญะ อัตลักษณ์ อุดมการณ์. กรุงเทพฯ: ภาพพิมพ์.

เกรียงไกร ทองจิตติ. (2560). การกล่อมเกลาทางการเมืองผ่านบทเพลงเพื่อชีวิตช่วงปี พ.ศ. 2516-2519. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชพฤกษ์, 3(2), 11-22.

ชัยวัฒน์ หอวรรณภากร. (2544). การสื่อความหมายและอุดมการณ์ในเพลงมหาวิทยาลัย. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต, สาขาวิชาการวาทวิทยา ภาควิชาวาทวิทยาและการสื่อสารการแสดง คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ไชยรัตน์ เจริญสินโอฬาร. (2545). สัญวิทยา, โครงสร้างนิยม, หลังโครงสร้างนิยมกับการศึกษารัฐศาสตร์: Semiology, structuralism, post-structuralism and the study of political science. กรุงเทพฯ: วิภาษา.

ณัฐพร พานโพธิ์ทอง. (2556). วาทกรรมวิเคราะห์เชิงวิพากษ์ตามแนวภาษาศาสตร์ : แนวคิดและการนำมา ศึกษาวาทกรรมในภาษาไทย. กรุงเทพฯ : โครงการการเผยแพร่ผลงานวิชาการ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

เถกิง พัฒโนภาษ. (2551). สัญศาสตร์ กับ ภาพแทนความ. วารสารวิชาการ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 1(1), 35-50.

ทินวัฒน์ สร้อยกุดเรือ. (2561). ภาษากับอุดมการณ์เกียรติภูมิในวาทกรรมเพลงมาร์ชโรงเรียนประจำจังหวัด. วารสารนานาชาติ มหาวิทยาลัยขอนแก่น สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 8(3), 44-65.

ยิ่งลักษณ์ บุญเก็บ. (2552). การใช้เพลงปลุกใจในฐานะสื่อประชาสัมพันธ์ให้คนไทยสำนึกรักชาติของกองทัพบก พ.ศ. 2475-2550. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, สาขาวิชาการประชาสัมพันธ์ ภาควิชาการประชาสัมพันธ์ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Forney, K. (2003). Study Guide for the Enjoyment of Music. New York, N.Y: W.W. Norton & Company.

Gee, J. P. (2018). Introducing discourse analysis: From grammar to society. London and New York: Routledge.

Jones, R. H. (2012). Discourse analysis : a resource book for students. London and New York: Routledge.

Peirce, C. S. (1902). Logic as semiotic: The theory of signs. Philosophical writings of Peirce, 100-103.

Saussure, F. D. (1959). Course in general linguistics (W. Baskin, Trans.). New York: Philosophical Library.

Simpson, P. (1993). Language, ideology and point of view. London: Routledge.

Strauss, S. G., & Feiz, P. (2014). Discourse analysis: Putting our worlds into words. New York: Routledge.

van Dijk, T. A. (1997). Discourse as Structure and Process. Discourse Studies. A Multidisciplinary Introduction. London; Thousand Oaks, Calif: Sage Publications.

van Dijk, T. A. (2000). Ideology: A multidisciplinary approach. London; Thousand Oaks, Calif: Sage Publications.

van Dijk, T. A. (2006). Ideology and discourse analysis. Journal of Political Ideologies, 11(2), 115-140.

van Dijk, T. A. (2009). Critical discourse studies: A sociocognitive approach. Methods of Critical Discourse Analysis, 2(1), 62-86.

van Dijk, T. A. (2009). Discourse as Structure and Process. Discourse Studies. A Multidisciplinary Introduction. London: Sage Publications.