กลวิธีทางภาษาที่ใช้ในการบริภาษในแอปพลิเคชันทวิตเตอร์: กรณีศึกษาประเด็นปัญหาความรักของศิลปิน

Main Article Content

ขวัญทิพย์ อรุณรุวิวัฒน์
ธรรมวัฒน์ พัฒนาสุทธินนท์
สุรเดช พิมไทย
วิภาดา รัตนดิลก ณ ภูเก็ต
วุฒินันท์ แก้วจันทร์เกตุ

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากลวิธีทางภาษาที่ใช้ในการบริภาษที่ปรากฏผ่านข้อความใน #แมทสงกรานต์ และ #ป๊อปปองกูล ในแอปพลิเคชันทวิตเตอร์ จำนวน 1,000 ข้อความแรกตั้งแต่มีการปรากฏใช้แฮชแท็กดังกล่าวในช่องล่าสุด นแอปพลิเคชันทวิตเตอร์ จำนวน ิตเตอร์ โดยใช้แนวคิดทางวัจนปฏิบัติศาสตร์ ผลการศึกษาพบว่า กลวิธีทางภาษาที่ใช้ในการบริภาษที่ปรากฏผ่านข้อความใน #แมทสงกรานต์ และ #ป๊อปปองกูล สามารถจำแนกได้เป็น 3 กลวิธี ได้แก่ 1. กลวิธีการบริภาษแบบตรงไปตรงมา ประกอบด้วยการใช้คำหยาบและการใช้คำที่มีความหมายเชิงลบ 2. กลวิธีการบริภาษแบบอ้อม ประกอบด้วยการใช้ถ้อยคำนัยผกผัน การใช้ความเปรียบ การใช้สำนวน และการใช้ชื่อบุคคลในการบริภาษ และ 3. กลวิธีเสริมการบริภาษ ประกอบด้วยการใช้คำอุทานและการใช้สัญรูปอารมณ์เสริมความรู้สึก ผลการศึกษาดังกล่าวแสดงให้เห็นว่า แอปพลิเคชันทวิตเตอร์เป็นเครื่องมือสำคัญที่คนในสังคมใช้ในการลงโทษศิลปินที่ประพฤติผิดไปจากบรรทัดฐานที่สังคมกำหนด

Article Details

How to Cite
บท
บทความวิจัย

References

กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. (2545). สำนวนไทย. กรุงเทพฯ: กรมวิชาการ. กระทรวงศึกษาธิการ. (2553). การลงโทษนักเรียนและนักศึกษา. สืบค้นเมื่อ 21 มกราคม 2563 จาก

www.moe.go.th/moe/th/news/detail.php?NewsID=20459&Key=news_research.

กัญญนัช ชะนะจิตร. (2560). การสร้างคำและความหมายของสแลงในเฟซบุ๊ก.วิทยานิพนธ์ ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาศาสตร์เพื่อการสื่อสาร, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

กุสุมา รักษมณี และคณะ. (2553). สำนวนไทย. กรุงเทพ ฯ: สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.

คณะกรรมการรายวิชามนุษย์กับสังคม. (2559). มนุษย์กับสังคม. พิมพ์ครั้งที่ 13. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

คมชัดลึก. (2562). แค่เลื่อนไม่ได้แบน 'แกรมมี่' เบรคเพลงใหม่ 'ป๊อบ'. สืบค้นเมื่อ 17 กุมภาพันธ์ 2563 จาก www.komchadluek.net/news/ent/363867.

จิรัฏฐ์ พรหมดิเรก. (2558). แฮชแท็กรณรงค์: ความคาดหวัง การเปิดรับ และการมีส่วนร่วมของผู้ใช้. วิทยานิพนธ์ วารสารศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสื่อสารมวลชน, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ซารีณา นอรอเอ และคณะ. (2561). ลักษณะการใช้ภาษาบนสื่อสังคมออนไลน์ของวัยรุ่นไทยในปัจจุบัน. รายงานการประชุมหาดใหญ่วิชาการระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 9. 940-952. สงขลา: มหาวิทยาลัยหาดใหญ่.

ณัฐพร พานโพธิ์ทอง. (2556). วาทกรรมวิเคราะห์เชิงวิพากษ์ตามแนวภาษาศาสตร์: แนวคิดและการนำมาศึกษาวาทกรรมในภาษาไทย. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: โครงการเผยแพร่ผลงานวิชาการ คณะอักษรศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ทองย้อย แสงสินชัย. (2560). ประเทศไม่เฮงซวย ถ้าจำเป็นจะต้องพูดคำว่า “ประเทศเฮงซวย” เป็นบาลีจะใช้คำว่าอะไร?. สืบค้นเมื่อ 4 มีนาคม 2563 จาก dhamma.serichon.us/ประเทศไม่เฮงซวย-ถ้าจำเป/.

ธีระ บุษบกแก้ว (2553). กลวิธีทางภาษากับการนำเสนออัตลักษณ์ของตนเองโดยกลุ่ม "เกย์ออนไลน์". วิทยานิพนธ์ อักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

นภัทร อังกูรสินธนา. (2551). การศึกษาเปรียบเทียบวัจนกรรมอ้อมในบทสนทนาในนวนิยายไทยต่างสมัย. วารสารมนุษยศาสตร์. 16 (2). 147-159.

นววรรณ พันธุเมธา. (2559). คลังคำ. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ : อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง.

ปาลิตา ผลประดับเพ็ชร์. (2560). นามนัยในภาษาไทย. วรรณวิทัศน์. 17. 188-218.

พนมพร นิรัญทวี. (2544). จุลสารลายไทย. กรุงเทพฯ: ภาควิชาภาษาไทย คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

พัชรินทร์ ทวิสุวรรณ. (2552). twitter สุโค่ย!. กรุงเทพฯ : ซัคเซส มีเดีย.

โพธินันทะ (นามแฝง). (2555). นิพพานได้ในทุกขณะปัจจุบัน เพื่อเห็นโลกตามความเป็นจริง. กรุงเทพฯ: อมรินทร์ธรรมะ.

ว. วชิรเมธี (นามแฝง). (2559). ปัญหาธรรมประจำวันนี้: รักคนมีครอบครัวแล้ว ผิดศีลไหม. สืบค้นเมื่อ 22 มกราคม 2563 จาก goodlifeupdate.com/healthy-mind/dhamma/40224.html.

วิสันต์ สุขวิสิทธิ์. (2547). วัจนกรรมการบริภาษในภาษาไทย. วิทยานิพนธ์ อักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ศิวริน แสงอาวุธ. (2557). วัจนบริภาษในข้อความแสดงทัศนะต่อข่าวการเมืองจากสื่ออินเทอร์เน็ต. วิทยานิพนธ์ ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

สถาบันพระปกเกล้า. ม.ป.ป. เริ่มต้นค่านิยม “ผัวเดียว-เมียเดียว”. สืบค้นเมื่อ 17 กุมภาพันธ์ 2563 จาก wiki.kpi.ac.th/index.php?title=เริ่มต้นค่านิยม_“ผัวเดียว-เมียเดียว”.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2546). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ: นานมีบุ๊คส์.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2551). สัญรูป. สืบค้นเมื่อ 6 มกราคม 2563 จาก www.royin.go.th/?knowledges=สัญรูป-๖-กรกฎาคม-๒๕๕๑.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2556). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: นานมีบุ๊คส์.

ราชบัณฑิตยสภา. (2562). Cyber Bully. สืบค้นเมื่อ 7 มกราคม 2563 จาก www.facebook.com/RatchabanditThai/photos/a.2527569647301115/2527570907300989/

?type=3&theater.

อรรถวิทย์ รอดเจริญ. (2552). การศึกษาการใช้ภาษาบริภาษของนักการเมืองไทย. วิทยานิพนธ์ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

อุปกิตศิลปสาร, พระยา. (2546). หลักภาษาไทย. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพาณิช.

Searle, J.R. (1969). Speech Acts: An Essay in the Philosophy of Language. Cambridge: Cambridge University Press.

It24hrs. (2561). twitter เผยชาวไทยทวีตพูดถึงเรื่องบันเทิงมากที่สุด ตลอดปี 2018. สืบค้นเมื่อ 17 กุมภาพันธ์ 2563 จาก www.it24hrs.com/2019/year-on-twitter-thailand-2018.

Khanittha. (2562). ดับกระแสเลื่อนฉาย "ลิขิตรักข้ามดวงดาว" ผู้กำกับลงภาพถ่ายทำฉากล่าสุด. สืบค้นเมื่อ 17 กุมภาพันธ์ 2563 จาก www.sanook.com/movie/84201/.

New Education World. (2559). ผีเน่ากับโลงผุ. สืบค้นเมื่อ 7 มกราคม 2563 จาก www.facebook.com/neweducationworld/photos/ผีเน่ากับโลงผุ-หมายความว่า-คนหรือของที่ไม่ดี-ไปจับคู่กับคนหรือของที่ไม่ดีเหมือนก/1324607704225110.

PPTV Online. (2562). "ป๊อบ ปองกูล" แถลงข่าวปมคบซ้อน รับขี้ขลาดเกินไป. สืบค้นเมื่อ 22 มกราคา 2563 จาก www.pptvhd36.com/news/ประเด็นร้อน/98924.

Supranee K. (2561). "แมท ภีรนีย์" ยอมรับชอบ "สงกรานต์" เลยเปิดใจให้ "ถ้าต้องเสียใจให้น้ำตาเช็ดหัวเข่าแมทเอง". สืบค้นเมื่อ 22 มกราคม 2563 จาก www.sanook.com/news/7569006/.

Teepagorn Champ Wuttipitayamongkol. (2560). แซะศาสตร์: งานศึกษาเรื่องชาวท่าแซะ. สืบค้นเมื่อ 7 มกราคม 2563 จาก thematter.co/thinkers/clash/subtweet/21725.