นิราศเมืองหลวงพระบาง : การศึกษาจากวรรณคดีสู่ภาคสนาม

Main Article Content

ปฐมพงษ์  สุขเล็ก

บทคัดย่อ

               นิราศเมืองหลวงพระบางเป็นวรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ แต่งขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว  เนื้อหากล่าวถึงการเดินทางไปเมืองหลวงพระบางในปี พ.ศ. 2428 กวีได้กล่าวถึงเส้นทางการเดินทาง สถานที่สำคัญ วัฒนธรรม ประเพณีของหลวงพระบาง  บทความนี้ต้องการนำเสนอภูมิทัศน์เมืองหลวงพระบางจากวรรณคดีนิราศเมืองหลวงพระบางที่กวีแต่งไว้เมื่อกว่าร้อยปีก่อนผ่านเนื้อหาด้านประวัติศาสตร์ และข้อมูลภาคสนามเพื่อเปรียบเทียบเมืองหลวงพระบางในอดีตกับปัจจุบัน และเพื่อนำเสนอเส้นทางการเดินทัพจากเมืองน่านไปเมืองหลวงพระบาง 

Article Details

How to Cite
บท
บทความวิจัย / บทความวิชาการ
Author Biography

ปฐมพงษ์  สุขเล็ก

นายปฐมพงษ์  สุขเล็ก

ศศ.ม. (ภาษาไทย) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

อาจารย์ประจำสาขาวิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม

E-Mail:  p_0345043@hotmail.com

References

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ. (2544). หอมกลิ่นจำปาเบิกฟ้าเมืองลาว. กรุงเทพฯ: ภัคธรรศ.

ชาย แก้วสมสัก. (2559, 9 พฤศจิกายน). สัมภาษณ์.

ไทยรัฐออนไลน์. (2560). ทัวร์ บขส. น่าน-หลวงพระบาง. สืบค้นเมื่อ 14 พฤศจิกายน 2560 จาก https://www.thairath.co.th/content/1121652.

น้อมนิจ วงศ์สุทธิธรรม. (2549). วรรณกรรมนิราศ. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

นิราศเมืองหลวงพระบางและรายงานปราบเงี้ยว. (2548). พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร.

บุญช่วย ศรีสวัสดิ์ และอรรคภาค เล้าจินตนาศรี. (2547). ราชอาณาจักรลาว. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: ศยาม.

บุหลง ศรีกนก. (2553). นิราศหลวงพระบาง. ใน นามานุกรมวรรณคดีไทย ชุดที่ 1 ชื่อวรรณคดี. (หน้า 637-639). พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา.

ประดิษฐ์ หว่าเกตุ. (2559, 6 พฤศจิกายน). สัมภาษณ์.

ประภัสสร์ ชูวิเชียร. (2557). ศิลปะลาว. กรุงเทพฯ: มติชน.

พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ 4 ของเจ้าพระยาทิพากรวงศ์ (ขำ บุนนาค). (2548). พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ: อมรินทร์.

รังสิต จงณานสิทโธ และคณะ. (2544). ออนซอนหลวงพระบาง. กรุงเทพฯ: สายธาร.

ศุภชัย สิงห์ยะบุศย์. (2553). หลวงพระบางในจักรวาลวิทยาแบบรัฐจารีต: พื้นที่พิธีกรรมและกระบวนการกลายเป็นราชธานีของราชอาณาจักรลาวล้านช้าง. วารสารอารยธรรมศึกษาโขง-สาละวิน. 1(2). 43-68.

สุดสาคอน สัยยะมงคน. (2559, 8 พฤศจิกายน). สัมภาษณ์.

สุภาพร พลายเล็ก. (2541). นิราศรัตนโกสินทร์: การสืบทอดขนบวรรณศิลป์จากพระนิพนธ์เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร. วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุรศักดิ์ ศรีสำอาง. (2545). ลำดับกษัตริย์ลาว. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร.

สุวิทย์ ธีรศาศวัต. (2543). ประวัติศาสตร์ลาว. กรุงเทพฯ: สร้างสรรค์.

อภิลักษณ์ เกษมผลกูล. (2560). สาธุสะพระประธมบรมธาตุ จงทรงศาสนาอยู่ไม่รู้สูญ ตามรอยนิราศพระประธมของสุนทรภู่ และแนวทางการประยุกต์ใช้ในมิติเศรษฐกิจสร้างสรรค์. กรุงเทพฯ: ทริปเพิ้ลกรุ๊ป.