เกียวโตที่ซ่อนเร้นใน “เกียวโตซ่อนกลิ่น”
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความหมายของพื้นที่เมืองเกียวโตที่ปรากฏในเรื่อง “เกียวโตซ่อนกลิ่น” ของอุทิศ เหมะมูล (2557) “เกียวโตซ่อนกลิ่น” สะท้อนเรื่องราวของวารี ผู้ดำเนินชีวิตภายใต้ระบบปิตาธิปไตย เรื่องราวของวารีได้ถูกเล่าผ่านพื้นที่เมืองเกียวโตอันเป็นฉากหลักของเรื่อง จากการศึกษาพบว่าภาพแทนของพื้นที่เมืองเกียวโตถูกนิยามว่าเป็นเมืองที่ “เรียบนิ่งมีอะไรไหลลึกอยู่ภายใน” กล่าวคือ เมืองเกียวโตถูกนำเสนอให้มีความหลากหลายทางด้านความหมาย เช่น การเป็นพื้นที่ที่วารีมีอิสระทางเพศแต่ไม่อิสระจากระบบปิตาธิปไตย ภาพแทนของพื้นที่เมืองเกียวโตที่มีความหลากหลายเช่นนี้จึงสะท้อนถึงความหลากหลายในตัวตนของวารีนั่นเอง
Article Details
- ข้อความรู้ใดๆ ตลอดจนข้อคิดเห็นใดๆ เป็นของผู้เขียนแต่ละท่านโดยเฉพาะ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร และกองบรรณาธิการวารสารมนุษยศาสตร์ฯ ไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
- บทความใดๆ ที่ตีพิมพ์ในวารสาร ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารมนุษยศาสตร์ หากต้องการตีพิมพ์ซ้ำต้องได้รับอนุญาตก่อน
References
เฉลิมรัฐ ขนอม. (2544). ศึกษาความเชื่อและพิธีกรรมที่เกี่ยวข้องกับเจ้าแม่กวนอิม ของชาวไทยเชื้อสายจีน ในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา. วิทยานิพนธ์ ศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยทักษิณ.
ชาญวิทย์ เกษตรศิริ. (2557). สืบค้นเมื่อ 4 มิถุนายน 2561 จาก https://www.facebook.com/charnvitkasetsiri/posts/794321123957392
ดวงมน. (2561). เกียวโตซ่อนกลิ่น. สืบค้นเมื่อ 25 มีนาคม 2561 จาก http://www.duangjaivijarn.com/16845918/%E0%B8%94%E0%B8%A7%E0%B8%87%E0%B8%A1%E0%B8%99-.
พิพาดา ยังเจริญ. (2546). จักรพรรดิ ขุนนาง นักรบ และพ่อค้าในสังคมญี่ปุ่นก่อนสมัยใหม่. กรุงเทพฯ : ศูนย์หนังสือจุฬาลงกรณ์.
พุทธิพงศ์ อึงคะนึงเวช. (2557). สืบค้นเมื่อ 4 มิถุนายน 2561 จาก https://www.facebook.com/CandideBooks/photos/a.165323500152366.35882.156312231053493/899284976756211/?type=1&theater
สุทิน ทองสีเหลือง รวบรวม. (2557). เจ้าแม่กวนอิม พระโพธิสัตว์แห่งความเมตตาและความสำเร็จ. กรุงเทพฯ: อมรินทร์ธรรมะ.
หัตถกาญจน์ อารีศิลป. (2560). "เกียวโตซ่อนกลิ่น" : มิติของ "น้ำ" ท่ามกลางความ (ไม่) หลากหลายทางวัฒนธรรม ใน รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการ "ถกเถียงเรื่องคุณค่า 2: ความหลากหลายทางวัฒนธรรม. (หน้า 186-216). กรุงเทพฯ: โครงการเวทีวิจัยมนุษยศาสตร์ไทย สนับสนุนโดยสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) .
อุทิศ เหมะมูล. (2557). ปรากฏการณ์ใหม่ในวรรณกรรมไทยร่วมสมัย ใน สรณัฐ ไตรลังคะ, นัทธนัย ประสานนาม (บรรณาธิการ), จะเก็บเกี่ยวข้าวงามในทุ่งใหม่: ประวัติวรรณกรรมไทยร่วมสมัยในมุมมองร่วมสมัย. (หน้า 151-163). กรุงเทพฯ: ภาควิชาวรรณคดี และกรรมการฝ่ายวิจัย คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ร่วมกับสำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม.
อุทิศ เหมะมูล. (2554). Japan and I. กรุงเทพฯ: แพรวสำนักพิมพ์.
Borch, C. (2002). Interview with Edward W. Soja: Thirdspace, Postmetropolis, and Social Theory. Distinktion: Scandinavian Journal of Social Theory, 3(1), 113-120.
Lefebvre, H. (1991). The Production of Space. Oxford, OX, UK: Blackwell.
Kyoto City University of Arts Art Gallery. (2013). Work in Memory. Retrieved on March 25, 2018 From http://www.kcua.ac.jp/gallery/akcua/wp-content/uploads/2013/07/application.pdf, accessed March 31, 2018.
Soja, E.W. (1996). Thirdspace: Journeys to Los Angeles and Other Real-and-Imagined Places. Blackwell Publishing: Oxford.
Borch, C. (2002). Interview with Edward W. Soja: Thirdspace, Postmetropolis, and Social Theory. Distinktion: Scandinavian Journal of Social Theory, 3(1), 113-120.
Lefebvre, H. (1991). The Production of Space. Oxford, OX, UK: Blackwell.
Kyoto City University of Arts Art Gallery. (2013). Work in Memory. Retrieved on March 25, 2018 From http://www.kcua.ac.jp/gallery/akcua/wp-content/uploads/2013/07/application.pdf, accessed March 31, 2018.
Soja, E.W. (1996). Thirdspace: Journeys to Los Angeles and Other Real-and-Imagined Places. Blackwell Publishing: Oxford.
Urška, P. (2014). An overview of literary mapping projects on cities: Literary spaces, literary maps and sociological (re)conceptualisations of space. Neohelicon, 41(1), 13-25.
京都市情報館 (2010).「御池通の概要,京都市情報館. http://www.city.kyoto.lg.jp/tokei/page/0000004448.html (2018年3月31日閲覧)
堀川団地 (2014). 「ARTIST WORKSHOP @KCUA WORK IN MEMORY」,Kyoto City University of Arts Art Gallery. http://gallery.kcua.ac.jp/exhibitions/20140301_id=210#ja(2018年3月31日閲覧)
影山幸一(2016).「仙厓義梵《○△□》「わかる」がわかるか──「中山喜一朗」」,アートスケープ.http://artscape.jp/study/art-achive/10127048_1982.html (2018年3月31日閲覧)
永井良和 (2008).「遊郭の形成と近代日本―「囲い込み」と取り締り」井上章一(編),『性欲の文化史 1 』(13-39). 東京: 講談社.
繁田信一(2008).『庶民たちの平安京』. 東京: 角川学芸出版.
鳥居本幸代 (2014).『千年の都 平安京のくらし』. 東京: 春秋社.