การศึกษาภาษาภาพพจน์ในพาดหัวหลักภาษาอังกฤษของสื่อสิ่งพิมพ์โฆษณา อาหารจานด่วนแบบตะวันตกที่ปรากฏทางเว็บไซต์กูเกิ้ลอิมเมจ
Main Article Content
บทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อหาค่าความถี่และร้อยละของการใช้ภาษาภาพพจน์ในพาดหัวหลักภาษาอังกฤษของสื่อสิ่งพิมพ์โฆษณาอาหารจานด่วนแบบตะวันตกที่ปรากฏทางเว็บไซต์กูเกิ้ลอิมเมจ พ.ศ. 2558 และศึกษาสาเหตุของการใช้ภาษาภาพพจน์ที่มีความถี่การใช้งานมากที่สุด ข้อมูลในการวิจัย คือ พาดหัวหลักภาษาอังกฤษที่มีการใช้ภาษาภาพพจน์จำนวน 103 พาดหัว ของร้าน McDonald’s, KFC, Subway และ Pizza Hut และเครื่องมือวิจัย คือ เกณฑ์การจัดประเภทภาษาภาพพจน์ที่รวบรวมมาจาก Jordan (1965), Leigh (1994) และ Mcquarrie & Mick (1996) ผลการศึกษาพบว่ามีการใช้ภาษาภาพพจน์กลุ่มที่เน้นอรรถรสทางภาษา (Scheme) มากกว่ากลุ่มที่ต้องใช้ การตีความ (Trope) สำหรับกลุ่ม Trope กระบวนการจินตภาพ (Imagery) ใช้มากที่สุด และในกลุ่ม Scheme การซ้ำเสียงพยัญชนะต้น (Alliteration) ใช้มากที่สุด สาเหตุอาจมาจาก การหลีกเลี่ยงการตีความผิดพลาด ประสิทธิภาพในการกระตุ้นการรับรู้ทั้ง 5 ด้าน และ การหลีกเลี่ยงอิทธิพลของภาษาถิ่น เป็นต้น
Article Details
- ข้อความรู้ใดๆ ตลอดจนข้อคิดเห็นใดๆ เป็นของผู้เขียนแต่ละท่านโดยเฉพาะ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร และกองบรรณาธิการวารสารมนุษยศาสตร์ฯ ไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
- บทความใดๆ ที่ตีพิมพ์ในวารสาร ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารมนุษยศาสตร์ หากต้องการตีพิมพ์ซ้ำต้องได้รับอนุญาตก่อน
References
กาญจวัฒน์ โกสิยกุล. (2545). วัจนลีลาและมายาคติของภาษาโฆษณาเครื่องสำอางในนิตยสารผู้หญิง. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัหอการค้าไทย.
ดารา ทีปะปาล. (2554) การสื่อสารการตลาด. สืบค้นเมื่อ 20 มกราคม 2559 จาก http://free4marketingad.blogspot.com
/2011/10/blog-post_9381.html.
บุษบา สุธีธร. (2540). กลุ่มประชาชนเป้าหมายในการประชาสัมพันธ์ในเอกสารการสอนชุดวิชาการหลักการโฆษณาและการประชาสัมพันธ์ (หน่วยที่ 13). นนทบุรี: สำนักพิมพ์หาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
ปมุข ศุภสาร และชาญนริศ บุญพารอด. (2531). ประเภทของสื่อโฆษณา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ไทยวัฒนาพาณิช.
พนุชดา เจริญชัย. (2551). โวหารภาพพจน์ในคำขวัญโฆษณา: กรณีศึกษาตำขวัญโฆษณาเครื่องดื่มยี่ห้อโคคา โคล่า. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยบูรพา.
พรรณรัตน์ กานต์ไกรศรี. (2555). การวิเคราะห์รูปบแบบภาษาภาพพจน์และการใช้คำของโฆษณาอสังหาริมทรัพย์ในหนังสือพิมพ์บางกอกโพสต์ ในช่องเดือนมกราคม ปีพุทธศักราช 2552 ถึงเดือนมิถุนายน ปีพุทธศักราช 2553. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยบูรพา.
รองริน วรัญญ์. (2532). แฮมเบอร์เกอร์ ฟาสต์ฟู้ดที่เป็นปัญหา. สยามรัฐสัปดาห์วิจารณ์. ฉบับที่ 6(9), หน้า 24-25.
วราภรณ์ รัตนกาญจน์. (2524). การวิเคราะห์การใช้คำและการใช้เครื่องหมายในภาษาโฆษณาหนังสือพิมพ์รายวัน ปีพ.ศ. 2519 – พ.ศ. 2529. วิทยานิพนธ์ อักษรศาสตร มหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วัสสิกา รุมาคม. (2546). ลักษณะภาษาโฆษณาสำหรับผู้หญิงในสื่อนิตยสารตั้งแต่ปี พ.ศ. 2475–พ.ศ. 2543. วิทยานิพนธ์ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ศักดิ์สิทธิ์ ลิมกุลาคมน์. (2534). กลวิธีการใช้คำในภาษาโฆษณาภาษาไทยทางโทรทัศน์และนิตยสารไทย. วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สกนธ์ ภู่งามดี. (2546). การออกแบบและผลิตงานโฆษณา. กรุงเทพฯ: แซท โฟร์ พริ้นติ้ง.
สุพาณี วรรณาการ. (2549). ภาษาภาพพจน์ในสารคดีนิตยสาร Reader’s Digest. เอกสารงานวิจัย เสนอต่อคณะกรรมการส่งเสริมการวิจัย คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.
สุรสิทธิ์ วิทยารัฐ. (2546). การผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพมหานคร: ศูนย์หนังสือสวนสุนันทา.
เสรี วงศ์มณฑา. (2540). การโฆษณาและการส่งเสริมการขาย. กรุงเทพฯ: บ้านเสรีรัตน์.
อัจฉิมาภรณ์ เจียรโณรส. (2555). การวิเคราะห์การใช้โวหารภาพพจน์ในพาดหัวหลักโฆษณานาฬิกาข้อมือสำหรับผู้ชายและผู้หญิงภาษาอังกฤษในนิตยสารภาษาไทย. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตร มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยบูรพา.
Bovee, L. C. & Thill, V. J. & Dovel, P. G. (1995). Advertising Excellence. New York: McGraw-Hill.
Defleur, Melvin L. & Dennis, Everette E. (1994). Understanding Mass Communication: A Liberal Arts perspective (5th ed). Houghton Muffin Company.
Fill, C. (1995). Marketing Communication: Frameworks, Theories and Applications. Englement Cliffs, NJ: Prentice – Hall.
Jordan, J. E. (1965). Using Rhetoric. New York: Harper&Row.
Kilborne, J. (2007). “Deadly Persuasion”. From http://www.medialit.org/reading_room/article64.tm
Kriszer, L. G. & Mandell, S. G. (1994). Fiction: Readng>Reacting>Wrtng. California: Harcourt Brace Jovanovich.
Lakoff, R. (1973). Language and woman’s place. Language in Society, 2, 45 – 80.
Leigh, J. (1994). The Use of Figures of Speech in Print /ad Headlines. Journal of Advertising, 23(1), 17- 34.
Mcquarrie, E. F. & Mick, D. G. (1996). Figures of rhetoric in advertising language. Journal of Consumer Research, 22, 424-438.
Moriarty, E. S. (1991). Creative Advertising Theory and Practice(2nd ed.). Singapore: Prentice-Hall. Oxenfeldt, A. R. & Swan, C. (1964). Management of Advertising. Belmont, CA: Division of Wadsworth.
Phillips, B.J. & McQuarrie, E.F. (2002). The development, change, and transformation of figurative style in magazines advertisements 1954 – 1999. Journal of Advertising. 31(26), 1-13.
Stovall, J. G. (1990). Writing for the Mass Media (2nd ed.). Engwood Cliffs, NJ: Prentice Hall.
Suvaree, P. (2006). The Study of Language Use in Airlines’ Advertisements. The degree of Master of Arts. King Mongkut’s Institute of Technology North Bangkok, Bangkok.