กลวิธีเพื่อหลีกเลี่ยงการคัดลอกงานเขียนทางวิชาการ: กรณีศึกษานักศึกษาระดับปริญญาโท สาขาวิชาการสอนภาษาอังกฤษ

Main Article Content

ทิวนภา ศิริพรหม
สมฤดี คงพุฒ

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากลวิธีหลีกเลี่ยงการคัดลอกในการเขียนงานทางวิชาการที่เป็นภาษาอังกฤษของนักศึกษาระดับปริญญาโท สาขาวิชาการสอนภาษาอังกฤษ ซึ่งกำลังเขียนโครงร่างวิจัยภาษาอังกฤษ จำนวน 5 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล ประกอบด้วย แบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง และแบบฝึกกระบวนการคิดออกเสียง เพื่อใช้รวบรวมกลวิธีเพื่อหลีกเลี่ยงการคัดลอกและการแก้ไขงานเขียนมิให้มีข้อความที่คัดลอก ผลการศึกษาพบว่า กลวิธีที่นักศึกษาใช้เพื่อหลีกเลี่ยงการคัดลอกบ่อยครั้ง คือ การถอดความจากข้อความต้นฉบับโดยใช้สำนวนภาษาของตนเองและนำข้อความมาใช้ในงานเขียนของตนเองด้วยการอ้างอิงข้อมูลอย่างเหมาะสมและถูกจริยธรรม นอกจากนี้ยังพบว่า นักศึกษาบางคนเลือกใช้วิธีที่ไม่เหมาะสมและผิดจริยธรรม คือ การคัดลอกคำศัพท์โดยไม่ใช้เครื่องหมายอัญประกาศ และการอ้างอิงข้อมูลไม่ครบถ้วน ผลการศึกษานี้เสนอแนะว่า ผู้สอนควรมุ่งเน้นและ สร้างความเข้าใจให้กับนักศึกษาเรื่องการอ้างอิงที่ถูกต้องตามหลักเกณฑ์และวิธีการเขียนที่ถูกต้องตามหลักจริยธรรมเพื่อหลีกเลี่ยงการคัดลอกในงานเขียนทางวิชาการต่อไป

Article Details

How to Cite
บท
บทความวิจัย / บทความวิชาการ

References

กลุ่มติดตามและประเมินผลด้านนโยบายและงบประมาณ สำนักติดตามและประเมินผลอุดมศึกษา. (7 สิงหาคม 2557). สรุปการประชุมคณะกรรมการการอุดมศึกษา ครั้งที่ 8/2557. สืบค้นเมื่อ 1 กรกฎาคม 2558, จาก http://www.mua.go.th/users/hecommission/doc/resolution/2557/news8-57.pdf.

จิราภา วิทยาภิรักษ์. (2555). บทความปริทัศน์ การลอกเลียนงานวิชาการและวรรณกรรมโดยมิชอบ (Plagiarism). วารสารครุศาสตร์อุตสาหกรรม. ปีที่ 11 ฉบับที่ 3. หน้า 1-4.

บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. (2555). การคัดลอกผลงานทางวิชาการ ผลงานวิจัย สิ่งพิมพ์ วิทยานิพนธ์ (Academic Plagiarism) “ประเด็นที่เราควรตระหนัก”. สืบค้นเมื่อ 31 มีนาคม 2559. จาก http://www.grad.chula.ac.th/download/files/Plagiarism.pdf.

พัชรี เขตต์จะโป๊ะ. (2552). การรับรู้เกี่ยวกับพฤติกรรมการคัดลอกผลงานผู้อื่นมาเป็นของตนของนักศึกษาระดับ บัณฑิตศึกษาคณะศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. การค้นคว้าแบบอิสระ ศษ.ม. (จิตวิทยาการศึกษาและการแนะแนว). เชียงใหม่: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. สืบค้นเมื่อ 31 มีนาคม 2559. จากhttp://cmuir.cmu.ac.th/handle/6653943832/25942.

พรรณรัตน์ หวังเอื้ออัตตชน. (2556). บทความทางภาษาไทย: การวิเคราะห์การตั้งชื่อ คำนำ เนื้อเรื่อง และสรุป. วารสารมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม). หน้า 85-94.

รมณีย์ เจริญทรัพย์. (2557). การโจรกรรมทางวรรณกรรม Plagiarism. สืบค้นเมื่อ 7 เมษายน 2559. จาก
http://webcache.googleusercontent.com/search?q=cache:D7Zc8a9n1zYJ:www2.rdi.ku. ac.th/newweb/wp-contents/uploads/2013/05/KM_plagiarism.pdf+&cd=9&hl=en&ct=clnk&gl=th.

วิชาญ กิตติสุขสันต์. (2549). อาชญากรทางวิชาการ. คู่มืออาชญากรศาสตร์. ข่าวสารในห้องสมุดจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สืบค้นเมื่อ 1 พฤษภาคม 2558. จาก http://www.car.chula.ac.th/culib/v22n2y2549/article3v22n22549.pdf.

เวคิน นพนิตย์. (2555). การทำผิดจริยธรรมในการเขียนและตีพิมพ์ผลงานวิชาการ. กองบรรณาธิการ วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา. ปีที่ 7 ฉบับที่ 2. หน้า 97-104.

สันติพงษ์ ไทยประยูร. (2558). ระบบตรวจสอบลิขสิทธิ์ ผลงานวิชาการและวิทยานิพนธ์. ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ. สืบค้นเมื่อ 15 สิงหาคม 2558. จาก http://webcache.googleusercontent.com/search?q=cache:DEMiw5HSsMMJ:main.library.tu.ac.th/conference2014/pdf/copycat-ppt.pdf+&cd=3&hl=en&ct=clnk&gl=th.

สำนักข่าวออนไลน์ไทยพับลิก้า (2 กันยายน 2555). คดีคัดลอกข้อมูลทำวิทยานิพนธ์ “ศุภชัย หล่อโลหการ” ศาลอุทธรณ์ยืนยกฟ้องคดีหมื่นประมาท ระบุ “วิลเลี่ยม แอลลิส” คือผู้เขียน. วิกฤติมาตรฐานงานวิจัย. สืบค้นเมื่อ 15 สิงหาคม 2558. จาก http://thaipublica.org/2012/09/appeal-dismissed-william-ellis/.

อดิศัย โพธารามิก. (2548). ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๘. สืบค้นเมื่อ 1 กรกฎาคม 2558. จาก http://webcache.googleusercontent.com/search?q=cache:NU2DMsUAuEkJ:www.grad.psu.ac.th/mua/notice01.pdf+&cd=1&hl=en&ct=clnk&gl=th.

อุทัย บุญประเสริฐ. (2551). Plagiarism การละเมิดทางวรรณกรรมและจริยธรรมทางวิชาการ. สืบค้นเมื่อ 7 เมษายน 2559. จาก
http://webcache.googleusercontent.com/search?q=cache:2LinS0yLUCoJ:www.dpu.ac.th/ ces/download.php%3Ffilename%3D1377584728.pdf+&cd=7&hl=en&ct=clnk&gl=th.

Barr on-Cede, A., Vila, M., Mart, M. & Rosso P. (2012). Plagiarism meets paraphrasing: Insights for the next generation in automatic plagiarism detection. Association for Computational Linguistics, 39(4). 917-947.

Cheema, Z., Mahmood, S., Mahmood, A., & Shah, M. A. (2011). Conceptual awareness of research scholars about plagiarism at higher education level: Intellectual property right and patent. International Journal of Academic Research, 3(1), 666-671.

Choi, H. (2012). Paraphrase practices for using sources in L2 academic writing. English Teaching, 67(2), 51-78.

Dahl, S. (2007). Turnitin® The student perspective on using plagiarism detection software. Active Learning in Higher Education, 8(2), 173-191.

Das, N., & Panjabi, M. (2011). Plagiarism: Why is it such a big issue for medical writers?. Perspectives in Clinical Research, 2(2), 67.

Ericsson, K. A., & Simon, H. A. (1984). Protocol analysis: Verbal reports as data.

Cambridge, Massachusetts: MIT press. Retrieved on June 30, 2016 From http://ammonwiemers.com/IdetPortfolio/articles/Assessment/Protocol%20Analysis%20--%20Verbal%20Reports%20as%20Data.pdf.

Fisher, R., Milsom, R., & Bishop, C. (2008). Write Aloud moving from talk to writing in the early years. English, 4(11), 32.

Foltynek, T., Rybicka, J., & Demoliou, C. (2014). Do students think what teachers think about plagiarism?. International Journal for Educational Integrity, 10(1). 21-30.

Heaton, J.B. (1988). Writing English language tests. New York: Longman.

Keck, C. (2006). The use of paraphrase in summary writing: A comparison of L1 and L2 writers. Journal of Second Language Writing, 15(4), 261-278.

Keck, C. (2010). How do university students attempt to avoid plagiarism? A grammatical analysis of undergraduate paraphrasing strategies. Writing & Pedagogy, 2(2), 193-222.

Kier, C. (2014). How Well do Canadian Distance Education Students Understand Plagiarism? The International Review of Research in Open and Distance Learning, 15(1). 227-248.

Marshall, S., & Garry, M. (2005, December). How well do students really understand plagiarism. In proceedings of the 22nd annual conference of the Australasian Society for Computers in Learning in Tertiary Education (ASCILITE), 457-467.

Ramzan, M., Munir, M., Siddique, N. and Asif, M. (2011). Awareness about plagiarism amongst university students in Pakistan. Springer Science+Business Media.

Someren, M., Barnard, Y. & Sandberg, J. (1994). The Think Aloud Method: A practical guide to modelling cognitive processes. London: Academic Press.

Van Weijen, D., Van den Bergh, H., Rijlaarsdam, G., & Sanders, T. (2009). L1 use during L2 writing: An empirical study of a complex phenomenon. Journal of Second Language Writing, 18(4), 235-250.

Zimitat, C. (2007). A student perspective of plagiarism, Student Plagiarism in an Online World: Problems and Solutions: Problems and Solutions (pp. 10-20). Retrieved on June
30, 2016 From https://books.google.co.th/books?hl=en&lr=&id=79t3WSkjaCsC&oi=fnd&pg=PT35&dq=A+student+perspective+of+plagiarism&ots=58N1obSZgn&sig=SrfTpb4Q41m9K9temwfzKzUTUuU&redir_esc=y#v=onepage&q=A%20student%20perspective%20of%20plagiari
sm&f=false.