การตั้งโจทย์วิจัยด้วยคำถามสำคัญ: แก่นสำคัญในการออกแบบและดำเนินการวิจัย

Main Article Content

Korapat Mayurasakorn
Tanyaporn Pongkunakorn
Sara Schwanke Khilji
Kamol Udol
Thamonwan Manosan

บทคัดย่อ

หลายทศวรรษที่ผ่านมาข้อมูลขนาดใหญ่เป็นที่สนใจของนักวิชาการอย่างกว้างขวาง เพื่อนำไปขับเคลื่อนเทคโนโลยีทั้งเชิงวิทยาศาสตร์และไม่ใช่วิทยาศาสตร์ ซึ่งเวชปฏิบัติอิงหลักฐานมักนิยมใช้อ้างอิงประกอบการตัดสินใจขั้นเบื้องต้น อย่างไรก็ตามในทางปฏิบัติ การรักษาโรคต้องปรับเปลี่ยนไปให้เหมาะสมกับผู้ป่วยแต่ละราย เนื่องจากมีความเฉพาะตัวของภาวะโรค ความซับซ้อน และผลแทรกซ้อนอื่น ๆ โดยปัจจัยส่วนบุคคล อาทิเช่น เพศ วิถีชีวิต พันธุกรรม การเข้าถึงบริการรักษา ซึ่งเป็นตัวแปรสำคัญที่ต้องพิจารณาประกอบในการตัดสินใจในเวชปฏิบัติอิงหลักฐาน ปัจจุบันการนำผลงานวิจัยเป็นข้อมูลสนับสนุนการรักษาทางการแพทย์เป็นอีกปัจจัยที่สำคัญ นำไปสู่การเพิ่มความแม่นยำในศาสตร์ทางการแพทย์ หรือการตัดสินใจ ความเหมาะสมของรูปแบบการรักษา ชนิดและปริมาณยาที่ใช้ แนวทางการติดตามผลลัพธ์ให้บริการ และการรักษาแบบทางเลือก ซึ่งสิ่งสำคัญที่ต้องใช้ประกอบการให้พิจารณานั้น ได้แก่ วิจารณญาณ/สัญชาตญาณ ประสบการณ์ทางคลินิก และหลักฐานทางวิชาการ ดังนั้นการตั้งคำถามงานวิจัยที่เหมาะสมจึงเป็นสิ่งที่สำคัญในการช่วยเติมเต็มความองค์รู้ที่ขาดหาย จากกระบวนการวิจัย เช่น การวิเคราะห์จากฐานข้อมูลเดิมที่มีอยู่ การค้นหาความองค์รู้ใหม่ หรือการนำเสนอสมมุติฐานสำหรับการทำวิจัยในอนาคต ด้วยเหตุนี้การมีคำถามการวิจัยที่ดี จึงเป็นขั้นตอนพื้นฐานแรกที่จะช่วยให้นักวิจัยกำหนดทิศทางของงานวิจัย การบรรลุเป้าหมาย และลดทอนข้อมูลที่ไม่จำเป็นและใช้ระยะเวลาในการทำวิจัยให้เกิดประโยชน์สูงสุด รวมถึงการเชื่อมการทำงานร่วมกันระหว่าง เวชปฏิบัติอิงหลักฐาน เวชปฏิบัติคลินิก แนวทางเวชปฏิบัติ และการให้การรักษารายบุคคลอย่างเหมาะสม

Article Details

How to Cite
1.
บท
บทความปริทัศน์

References

Yusuf S, Collins R, Peto R. Why do we need some large, simple randomized trials? Stat Med. 1984;3(4):409-22.

Allen EM. Why are research grant applications disapproved? Science. 1960;132(3439):1532-4.

Aslam S, Emmanuel P. Formulating a researchable question: A critical step for facilitating good clinical research. Indian journal of sexually transmitted diseases. 2010;31(1):47-50.

Bragge P. Asking good clinical research questions and choosing the right study design. Injury. 2010;41 Suppl 1:S3-6.

Naccarella L, Buchan J, Brooks P. Evidence-informed primary health care workforce policy: are we asking the right questions? Aust J Prim Health. 2010;16(1):25-8.

Price CP, Christenson RH. Ask the right question: a critical step for practicing evidence-based laboratory medicine. Ann Clin Biochem. 2013;50(Pt 4):306-14.

Brian Haynes R. Forming research questions. J Clin Epidemiol. 2006;59(9):881-6.

Cummings SR, Browner WS, Hulley SB. Conceiving the research question and developing the sutdy plan. In Hulley SB, Cummings SR, Browner WS, Grady DG, Newman TB, editors. Designing clinical research. 4 ed. Philadelphia: Lippincott Williams & Wilkins; 2013. p. 14-22.

Diabetes Prevention Program Research G. Long-term effects of lifestyle intervention or metformin on diabetes development and microvascular complications over 15-year follow-up: the Diabetes Prevention Program Outcomes Study. Lancet Diabetes Endocrinol. 2015;3(11):866-75.

Agoritsas T, Vandvik P, Neumann I, Rochwerg B, Jaeschke R, Hayward R, et al. Finding Current Best Evidence. Chapter 5. In: Guyatt G, Rennie D, Meade M, Cook D, editors. Users’ Guides to the Medical Literature: A Manual for Evidence-Based Clinical Practice 3rd ed. New York: McGraw-Hill; 2015.

Richardson WS, Wilson MC, Nishikawa J, Hayward RS. The well-built clinical question: a key to evidence-based decisions. ACP J Club. 1995;123(3):A12-3.

Fineout-Overholt E, Johnston L. Teaching EBP: asking searchable, answerable clinical questions. Worldviews Evid Based Nurs. 2005;2(3):157-60.

Browner WS, Newman TB, Hulley SB. Getting ready to estimate sample size: Hypotheses and underlying principles. In: Hulley SB, Cummings SR, Browner WS, Grady DG, Newman TB, editors. Designing clinical research. 4 ed. Philadelphia: Lippincott Williams&Wilkins; 2013. p. 43-53.