เศรษฐศาสตร์พฤติกรรมว่าด้วยอัลอีมาน (การศรัทธา)

ผู้แต่ง

  • โซร์ฟีนา เด่นสุมิตร คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี

คำสำคัญ:

เศรษฐศาสตร์พฤติกรรม, อิสลาม, อีมาน, ศรัทธา

บทคัดย่อ

วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาวิเคราะห์พฤติกรรมที่แท้จริงของมนุษย์ภายใต้การบูรณาการองค์ความรู้ด้านเศรษฐศาสตร์พฤติกรรมและการเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์แบบตามแบบฉบับอิสลาม

วิธีการศึกษา บทความวิชาการชิ้นนี้ใช้วิธีการศึกษาเชิงเอกสาร โดยทำการสังเคราะห์และวิเคราะห์ข้อมูลจากเอกสาร หนังสือ ตำรา งานวิจัย และบทความวิชาการที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่วางไว้ 

ผลการวิจัย พบว่า การนำองค์ความรู้ทางเศรษฐศาสตร์พฤติกรรมมาประยุกต์ใช้ในการพัฒนาหรือเพิ่มพูนอีมานจะช่วยให้มนุษย์รู้เท่าทันพฤติกรรมตนเอง โดยสามารถออกแบบพฤติกรรมทั้งในรูปแบบของการหลีกเลี่ยงและป้องกันพฤติกรรมที่ไม่ดี เพื่อเพิ่มพูนพฤติกรรมที่ดี (อีมาน) อันจะนำพาซึ่งความผาสุกในการดำเนินชีวิตทั้งในโลกนี้และโลกหน้า

การนำผลวิจัยไปใช้ สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตนเองและส่วนรวม โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการพัฒนาและเพิ่มพูนอัลอีมานเพื่อให้ใกล้ชิดกับอัลลอฮฺมากยิ่งขึ้น

References

Abdulaziz, S. (1995). Manhaj Al-Imam Malik fi Ithbat al-Aqidah. Maktab Ibn Taimiyat.

Ariely, D. (2011). Predictably Irrational. HarperCollins Publishers.

Ariely, D. (2011). The Upside of Irrationality: The Unexpected Benefits of Defying Logic. HarperCollins Publishers.

Densumite, S. (2020). The Economics of Beauty: Weight Loss & Health Care from a Behavioral Economics Perspective. Economics and Public Policy Journal, 11 (22), 52-63. https://so01.tci-thaijo.org/index.php/econswu/article/view/235962

Miller, J. E., Amit, E., & Posten, A. (2015). Behavioral Economics. Encyclopedia of Global Bioethics, 1-6. http://dx.doi.org/10.1007/978-3-319-05544-2_37-1

Sijabat, R. (2018). Understanding Behavioral Economics: A Narrative Perspective. Asian Development Policy Review, 6(2), 77-87.

Sriamphai, R. (2010). Faith in Islam. Office of the Royal Society. http://legacy.orst.go.th/?knowledges=ศรัทธาในอิสลาม-๒๙-มิถุนา&fbclid=IwAR2QxQhCwiCIThfKZnmbS0PcEkWk27AVY2YUPjl6X9E9SCP8zP1n2F3q2-Y

The Hadith, (Sahih al-Bukhari, 5534). Sunnah.com. https://sunnah.com/bukhari:5534

The Hadith, (Sunan an-Nasa'I, 5682). Sunnah.com. https://sunnah.com/nasai:5682

The Hadith, (Sahih Muslim, 78). Sunnah.com. https://sunnah.com/muslim:78

The Hadith, (Sahih Muslim, 2628). Sunnah.com. https://sunnah.com/muslim:2628

The Hadith, (Sahih Muslim, 2956). Sunnah.com. https://sunnah.com/muslim:2956

The Noble Quran (Society of Institutes and Universities, Trans.). (2023). Quran.com. https://quran.com.

Treewanchai, S. (2016). Behavioral Economics & Urban Policy. Future Urban Development Rangsit University.

Wangmanee, K. (2011). The Development of Happiness in Thai Adolescents by Self-Help Program [Master’s Thesis]. Srinakharinwirot Univeristy. https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/ 123456789/1151

Yungkit, F, & Kareena A. (2008). The Imparting Faith into Children of Thai Muslim Families in Kohlanta District, Krabi Province [Master’s Thesis]. https://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2010/6202

Downloads

เผยแพร่แล้ว

23-06-2023

How to Cite

เด่นสุมิตร โ. . (2023). เศรษฐศาสตร์พฤติกรรมว่าด้วยอัลอีมาน (การศรัทธา). วารสารอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 14(1), 190–206. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/JOIS/article/view/266373