อิสลามศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาของสหพันธรัฐรัสเซีย
คำสำคัญ:
อิสลามศึกษา , หลักสูตร, รัสเซีย, อุดมศึกษาบทคัดย่อ
จุดประสงค์ บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาสถานภาพการจัดอิสลามศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาของสหพันธรัฐรัสเซีย และ 2) เพื่อศึกษาลักษณะและทิศทางของหลักสูตรอิสลามศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาของสหพันธรัฐรัสเซีย
วิธีการศึกษา 1) การศึกษาองค์กรกลางอิสลามในสหพันธรัฐรัสเซีย 2) การศึกษาสถานภาพการจัดอิสลามศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา 3) การสำรวจลักษณะและทิศทางของหลักสูตรอิสลามศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาของสหพันธรัฐรัสเซีย
ผลการศึกษา พบว่า รัฐบาลรัสเซียได้ออกพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งองค์กรกลางอิสลาม ตั้งแต่ในปี พ.ศ. 2331 โดยในปัจจุบันพบว่า มี 2 องค์กรกลางอิสลามหลัก ได้แก่ 1) Central Muslim Spiritual Board of Russia (CMSB Russia) ที่ตั้งอยู่ในเมืองอูฟ่า และ 2) Russia Mufties Council ที่ตั้งอยู่ในเมืองมอสโก ได้รับการสนับสนุนจากกองทุนเพื่อการสนับสนุนวัฒนธรรมอิสลาม วิทยาศาสตร์ และการศึกษาของประธานาธิบดีสหพันธรัฐรัสเซีย โดยมีสถานภาพการจัดอิสลามศึกษาเพื่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และฟื้นฟูอัตลักษณ์ทั้งพื้นที่เมืองหลักและเมืองรองให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมของแต่ละพื้นที่ ขณะเดียวกันพบว่า ลักษณะและทิศทางของหลักสูตรอิสลามศึกษาในสหพันธรัฐรัสเซียมีสาขาที่หลากหลาย ไม่ว่าจะเป็น สาขาตะวันออกและแอฟริกาศึกษา สาขาศาสนศึกษา สาขาภาษาศาสตร์ สาขาวารสารศาสตร์ สาขาประวัติศาสตร์ และสาขาประวัติศาสตร์ศิลปะ
การนำผลวิจัยไปใช้ สถานภาพการจัดอิสลามศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาทั้งในประเทศไทยและสหพันธรัฐรัสเซียอยู่ในระดับเดียวกัน ดังนั้นงานวิจัยนี้ถือเป็นแนวทางที่ทางสถาบันอุดมศึกษาของไทย สามารถนำทิศทางการจัดอิสลามศึกษาในสหพันธรัฐรัสเซีย มาประยุกต์ในการจัดอิสลามศึกษาให้สอดคล้องตามบริบทของไทยและพัฒนาสู่ความเป็นเลิศด้านอิสลามศึกษาได้
References
Bolgar Islamic Academy. (n.d.). Абитуриенту. Retrieved October 7, 2021, from https://bolgar.academy/pravila-priema-na-obuchenie-po-obrazovatelnym-programmam-podgotovki-sluzhiteley
Bureau of Academic Affairs and Educational Standards. (2010). Management of Islamic Studies Learning in accordance with the Core Curriculum of Basic Education BE. 2551. Retrieved April 23, 2022, from https://www.skprivate.go.th/file_manager/ view_pdf/?path=uploads/group/b4471cb035561b0dac6c7e58547dab8b.pdf&name=Curriculum_Is2551.pdf
Central Muslim Spiritual Board of Russia. (n.d.). Central Spiritual Administration of Muslims of Russia. Retrieved October 7, 2021, from http://cdum.ru/about/index.php
Faculty of Asian and African Studies. (n.d.). Абитуриенту. Retrieved October 7, 2021, from https://www.orient.spbu.ru/index.php/ru/abiturientu/bakalavriat/programmy-bakalavriat-2021
Simons, G. (2019) Introduction: the image of Islam in Russia, Religion, State and Society, 47(2), 174-179, DOI: 10.1080/09637494.2019.1587936
HSE University. (n.d.). Master’s Programme Muslim Worlds in Russia (History and Culture). Retrieved October 7, 2021, from https://www.hse.ru/en/ma/mw/
Institute of Asian and African Countries. (n.d.). Образовательные программы. Retrieved October 7, 2021, from http://www.iaas.msu.ru/index.php/ru/uchebnyj-otdel/raspisanie-zanyatij
Institute of International Relations. (n.d.). Учебный процесс. Retrieved October 7, 2021, from https://kpfu.ru/imoiv/uchebnyj-process/uchebnye-plany
Islamfund. (n.d.). О фонде. Retrieved October 9, 2021, from https://www.islamfund.ru/
Kesamoon, C., Budsaba, K., & Pattanangur, P. (2019). A Survey of Post-graduate Programmes in Mathematics and Statistics in Thailand. Silpakorn Educational Research Journal, 11(2), 79-91.
Laruelle, M., & Hohmann, S. (2020) Polar Islam: Muslim Communities in Russia’s Arctic Cities, Problems of Post-Communism, 67(4-5), 327-337, DOI: 10.1080/10758216.2019.1616565
Osman, T. (2000). Islamic Studies in the Philippines. Journal of Islamic Studies, Prince of Songkla University, 1(1), 19–31. Retrieved from https://so03.tci-thaijo.org/index.php/JOIS/article/ view/233608
Russian Islamic University. (n.d.). Образование. Retrieved October 7, 2021, from http://www.kazanriu.ru/sveden/education/
Sapronova, M. A., & Chechevishnikov, A. L. (2019) Islamic Education in Russia – a Peculiar Model?, Law and Education, 6, 4-14.
Sa-u, S., & Langputeh, S. (2016). Islamic Education in ASEAN: Status and Challenges. Journal of Islamic Studies, 7(2), 19-32.
Wonglaykha, F., Boriboon, G., Visavateeranon, A., & Boonwatthanakul, C. (2018). The Development Indicators of the Quality of Islamic Education Management in Thailand. Veridian E–Journal, Silpakorn University, 11(1), 816-833.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2022 วารสารอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความทุกเรื่อง ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารอิสลามศึกษาเป็นแนวคิดของผู้เขียน มิใช่เป็นความคิดเห็นคณะผู้จัดทำและมิใช่ความรับผิดชอบของคณะวิทยาการอิสลาม กองบรรณาธิการไม่สงวนสิทธิ์การคัดลอก แต่ให้มีการอ้างอิงแสดงที่มา