อุมมะฮ์ วะสัฏ – ประชาชาติตรงกลาง: แนวคิดการจัดวางทางอารยธรรมของมนุษย์ในอิสลาม

ผู้แต่ง

  • Thaweesak Uppama Department of Islamic Studies, Faculty of Islamic Sciences, Prince of Songkla University, Pattani Campus
  • อับดุลรอนิง สือแต

คำสำคัญ:

อารยธรรม, ประชาชาติอิสลาม, ประชาชาติตรงกลาง, โลกมุสลิม, กิบละฮ์

บทคัดย่อ

จุดประสงค์ บทความวิจัยชิ้นนี้มีเป้าหมายเพื่อศึกษาแนวคิดการสร้างอารยธรรมในคำสอนอิสลาม ผ่านการศึกษาโองการจากคัมภีร์อัลกุรอานว่าด้วยการสถาปนาประชาชาติตรงกลาง เพื่อเปิดพื้นที่ใหม่ให้แก่อารยธรรมของมนุษยชาติ

วิธีการศึกษา เป็นงานวิจัยเอกสาร โดยมีวิธีการศึกษางานอรรถาธิบายอัลกุรอานต่าง ๆ ทั้งงานอ้างอิงจากตำราหลักและงานเขียนเฉพาะเกี่ยวกับเรื่องนี้ และเพื่อสรุปแนวคิด “ความเป็นตรงกลาง” ที่เป็นการจัดวางสถานะของอารยธรรมอิสลามที่กำเนิดขึ้นมาใหม่ในยุคสมัยนั้น

ผลการศึกษา ผลการศึกษาพบว่า แนวความคิดความเป็นตรงกลางของประชาชาติอิสลาม ได้กลายเป็นพัฒนาการใหม่ของประวัติศาสตร์อารยธรรมมนุษยชาติ มันได้สร้างประชาชาติที่ดีเลิศและยุติธรรมขึ้นมาในหน้าประวัติศาสตร์ และทำให้เกิดการแลกเปลี่ยนทางอารยธรรมอย่างกว้างขวาง

การนำผลวิจัยไปใช้ งานวิจัยได้ช่วยสร้างทฤษฏีความเป็นประชาชาติตรงกลาง เพื่อนำไปอธิบายพัฒนาของอารยธรรม ผ่านบทบาทของประชาชาติอิสลาม และทำให้เกิดความเข้าใจต่อการปฏิสัมพันธ์ระหว่างอารยธรรมต่าง ๆ ได้ชัดเจนขึ้น

คำสำคัญ : อารยธรรม, ประชาชาติอิสลาม, ประชาชาติตรงกลาง, โลกมุสลิม,  กิบละฮ์

References

Arnold, T W. (1896). Preaching of Islam. Constable.

al-Bukhārī, Muhammad Ibn Ismā‘īl. (1422). Sahīh al-Bukhārī. Dār Tawq al-Najāh.

Ibn Hanbal, Ahmad. (2001). Musnad al-Imām Ahmad (al-Muhaqqiq: Shu’ayb al-‘arnaūt). Muazzah al-Risālah.

Ibn al-Jawzī. Abū al-Faraj. (1984). Zād al-Masīd. al-Maktab al-Islāmī.

Ibn Kathīr , Isma‘īl. (2002). Tafsīr al-Qur‘ān al-‘azīm. Dār Tayyibah.

Ibn Taymīyah, Ahmad. (1995). Majmu‘ Fatāwa. Majma’ al-Mālik Fahd.

Goodrich, Luther Carrington. (2553). A Short History of the Chinese People. Kledthai Publishing.

al-Tirmidhī , Muhammad Ibn ‘Isā. (1975). Sunan al-Tirmidhī. Matba’ah al-Halabī.

al-Mubarakfūri, Safiyy ar-rahmān . (2562).الرحيق المختوم [Ar-Raheeq Al-Makhtum]. White Channel Publishing.

Muslim, Abū al-Ḥasan Ibn al-Ḥajjāj. (n.d.). Ṣahīh Muslim. Dār al-Ihya’ al-Kutub al-‘Arabiyah.

al-Nadwī, Abul Ḥasan Alī. (n.d.) Madhā Khasir al-‘Ālam bi al-Inhiṭāṭ al-Muslimīn. Maktbah al-īmān.

al-Nawawī, Yahya. (1392). Sharh Ṣahīh Muslim. Dār al-Turāth al-‘arabī.

al-Nasā’ī, Muhammad Ibn Shu‘ayb . (2001). Sunan al-Kubrā. Muazazah al-Risālah.

al-Qurtubī, Abū ‘Abdullāh. (n.d.). al-Jāmi’ li Ahkam al-Qur’ān. Dār al-Fikr.

al-Sa‘dī, ‘Abd al-Rahmān. (n.d.). Taysīr al-Karīm al-Rahmān fī Tafsīr Kalām al-Mannān. Mu’assasat al-Risālah.

al-Sāyi , Ahmad abd al-Rahīm. (1977). Kitāb al-Hadhārah al-Islāmīyah. al-Jāmiah al-Islāmiyah bi al-Madīnah al-Munawarah.

al-Shawkānī, Mahammad Ibn Alī. (2004). Fath al-Qadīr. Dār al-Ma‘rifah.

al-Ṭabarī , Mahammad Ibn Jarīr. (n.d.). Jāmi‘ al-Bayān ‘an Ta’wīl Āyāt al-Qur’ān. Dār al-Ma‘ārif.

al-Tahawī, abu jafar. (1414). Matn al-Tahawiyah. Maktbah al-Islami.

al- Tuwayyirī , Abd al-Azīz Uthman. (n.d.). Wasitīyah al-Islām wa Samahtuhu wa Dahwatuhu li al-Hiwār. Wisarah al-Awqāf.

al- Umr , Nāsir Umar. (n.d.). Wasitīyah fi Daw’ al-Qurā’n al-Karīm. Wisarah al-Awqāf.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

08-12-2021

How to Cite

Uppama, T., & สือแต อ. (2021). อุมมะฮ์ วะสัฏ – ประชาชาติตรงกลาง: แนวคิดการจัดวางทางอารยธรรมของมนุษย์ในอิสลาม. วารสารอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 12(2), 16–28. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/JOIS/article/view/254732