การศึกษาอิสลามในอาเซียน : สถานภาพและความท้าทาย

ผู้แต่ง

  • ซัมซู สาอุ Ph.D.(Education), อาจารย์ประจำภาควิชาอิสลามศึกษา วิทยาลัยอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
  • สุวรรณี หลังปูเต๊ะ M.Ed.(The Teaching of Islamic Education), อาจารย์ประจำภาควิชาอิสลามศึกษา วิทยาลัยอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี

คำสำคัญ:

การศึกษาอิสลาม, อาเซียน, สถานภาพ, ความท้าทาย

บทคัดย่อ

มุสลิมในประชาคมอาเซียนมีหลากหลายและมีอัตลัษณ์ที่แตกต่าง ทำให้การจัดการศึกษาด้านอิสลามศึกษามีความสอดคล้องกับบริบทและเงื่อนไขของมุสลิมในแต่ละประเทศ บทความนี้นำเสนอสถานภาพของการศึกษาอิสลามในกลุ่มประเทศอาเซียน ซึ่งประกอบด้วย 3 กลุ่ม คือ 1.การศึกษาอิสลามเพื่อความอยู่รอด เป็นสถานภาพของการจัดการศึกษาอิสลามภายใต้เงื่อนไขที่ไม่เอื้อต่อการจัดการ เช่น ประเทศเมียนมาร์ ลาว และเวียดนาม 2.การศึกษาอิสลามเพื่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และฟื้นฟูอัตลักษณ์ เป็นสถานภาพของการจัดการศึกษาอิสลามที่ได้รับอนุญาตจากภาครัฐและมีความช่วยเหลือจากภายนอกประเทศ โดยปรับใช้หลักสูตรต้นแบบจากประเทศต่างๆ จัดการเรียนการสอนอิสลามศึกษา เพื่อพัฒนาคุณภาพของผู้เรียนและรักษาไว้ซึ่งอัตลักษณ์ท้องถิ่นของชาติพันธุิ์ ประเทศในกลุ่มนี้ประกอบด้วย ไทย ฟิลิปปินส์ และกัมพูชา และ 3.การศึกษาอิสลามเพื่อความเป็นเลิศ เป็นกลุ่มที่สามารถนำมาเป็นต้นแบบในการจัดการศึกษาอิสลาม ได้แก่ ประเทศมาเลเซีย อินโดนีเซีย บรูไนดารุสสลาม และสิงคโปร์ โดยสามารถนำหลักสูตรการสอนและวิธีการสอนมาเป็นแบบอย่างในการพัฒนาการศึกษาอิสลามในประเทศกลุ่มที่ 1 และ 2 และความท้าทายร่วมกันของนักการศึกษาในอาเซียนที่สำคัญ คือ การพัฒนาหลักสูตรอิสลามศึกษาสำหรับประชาคมอาเซียน

References

มซู สาอุ. (2556). แนวโน้มการจัดอิสลามศึกษาในระดับอุดมศึกษา (Trends of Islamic education management in tertiary education). บทความนำเสนอในการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 2 ประจำปี 2556 เรื่อง “รวมพลังสร้างสรรค์งานวิจัย เพื่อพัฒนาท้องถิ่นและประเทศไทย” วันที่ 19 สิงหาคม 2556 ณ อาคารคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา.

ซัมซู สาอุ และวรชัย ปานนิตยพงศ์. (2557). การจัดอิสลามศึกษาในระดับอุดมศึกษา : กรณีศึกษาเปรียบเทียบประเทศมาเลเซียและตุรกี (Islamic education management in tertiary education : comparative studies of Malaysia and Turkey). บทความนำเสนอในการประชุมวิชาการระดับชาติด้านอิสลามศึกษาและมุสลิมศึกษา ครั้งที่ 2 วันที่ 27 ธันวาคม 2557 ณ วิทยาลัยอิสลามศึกษา มหาวิยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี.

สุวรรณี หลังปูเต๊ะ สุกรี หลังปูเต๊ะ สุรชัย ไวยวรรณจิตร ซัมซู สาอุ มูฮัมหมัดอิลยาส หญ้าปรัง กริยา หลังปูเต๊ะ ธีรวัช จาปรัง ฮัมดัน ดารามะ และ มูฮำหมัดราฟีร์ มะเก็ง. (2558). รายงานการวิจัยเรื่อง อิสลามศึกษาในกลุ่มประเทศเอเชียตะวันออกเฉียงใต้. สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา.

Abd Rahid, Adnan. (2010). The challenges of Islamic education in Southeast Asia : impacts and prospects. Paper presented at The International Conference on Roles of Islamic Studies in Globalized Society in December 21-23, 2010 organized by College of Islamic Studies, Prince of Songkla University, Pattani, Thailand.

Haji Alias,M., Zulkefli, Zurina Keffeli, & Ahmad, Nursilah. (2007). Employability of Islamic Studies Graduates in Malaysia. Negeri Sembilan : Universiti Sains Islam Malaysia (USIM).

Kaba, Brahima D. & Kaba, Abdulai. (2010). The contribution of Islamic education in non-Arabic speaking social environments. Paper presented at The International Conference on Roles of Islamic Studies in Globalized Society in December 21-23, 2010 organized by College of Islamic Studies, Prince of Songkla University, Pattani, Thailand.

Promadi. (2010). Integrasi ict dalam pendidekan Islam suatu alternatif pendekatan pembelajalan masa depan, MIQOT: Jusnal Ilmu-ilmu Keislaman, 34 (2), 264-284

Downloads

เผยแพร่แล้ว

19-12-2016

How to Cite

สาอุ ซ., & หลังปูเต๊ะ ส. (2016). การศึกษาอิสลามในอาเซียน : สถานภาพและความท้าทาย. วารสารอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 7(2), 19–32. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/JOIS/article/view/170060