การมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการจัดการศึกษาเพื่อส่งเสริมทักษะการคิดและการเรียนรู้ของเด็กมุสลิมในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้

ผู้แต่ง

  • มูฮัมหมัดอาฟีฟี อัซซอลีฮีย์ Ph.D. (Development Education), อาจารย์ประจำภาควิชาอิสลามศึกษา วิทยาลัยอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
  • ชนิตา รักษ์พลเมือง Ph.D. (Socio-Philosophieal Faundations of Education), ศาสตราจารย์ มหาวิทยาลัยสยาม
  • พรรณี บุญประกอบ Ph.D. (Curriculum Research and Development), อาจารย์พิเศษ สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
  • นิฟาริด ระเด่นอาหมัด M.Ed. (Teaching Science), ผู้ช่วยศาสตราจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี

คำสำคัญ:

การมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการจัดการศึกษา, ทักษะการคิดและการเรียนรู้, ผู้ปกครองมุสลิม, เด็กมุสลิม, สามจังหวัดชายแดนภาคใต้

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดและการเรียนรู้ของเด็กมุสลิมในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ และ (2) เพื่อศึกษาการรับรู้ของผู้ปกครองเกี่ยวกับปัจจัยเงื่อนไขของการมีส่วนร่วม ผู้เข้าร่วมการวิจัยเป็นผู้ปกครองมุสลิม จำนวน 51 คน (ปัตตานี 17 คน ยะลา 21 คน และนราธิวาส 13 คน) จากโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามในสามจังหวัด 7 แห่ง โดยการวิจัยใช้วิธีการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม ซึ่งแบ่งกระบวนการวิจัยเป็น 4 ระยะ คือ ระยะการสร้างความสัมพันธ์ ความเข้าใจและเป้าหมายร่วม ระยะการวางแผนและการออกแบบการวิจัย ระยะการนำแผนไปปฏิบัติ และระยะการประเมินและปรับปรุงแผนการปฏิบัติ การเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพโดยใช้เทคนิคการสนทนากลุ่มย่อยและการสังเกต จากการศึกษาพบว่าการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองเพื่อพัฒนาทักษะการคิดและการเรียนรู้ของเด็กมุสลิม 5 ด้าน ประกอบด้วย การเลี้ยงดูวิถีอิสลาม การจัดการเรียนรู้ในบ้านบูรณาการอิสลาม การร่วมมือกับโรงเรียน การร่วมมือกับชุมชน และการพัฒนาตนเองด้านการศึกษาของผู้ปกครอง ส่วนปัจจัยเงื่อนไขตามการรับรู้ของผู้ปกครองมุสลิม 10 ด้าน ประกอบด้วย ความรู้ด้านการมีส่วนร่วม การบริหารเวลา ความสัมพันธ์ภายในครอบครัว การเป็นแบบอย่างที่ดี ความต่อเนื่องสม่ำเสมอ ทักษะการใช้ไอซีที ความมุ่งมั่น สิ่งแวดล้อมภายในบ้าน ความสัมพันธ์กับโรงเรียน และความสัมพันธ์กับชุมชน

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2542). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.

พร้อมพิไล บัวสุวรรณ. (2554). ผู้ปกครองและผู้เรียนหุ้นส่วนเพื่อคุณภาพของผู้เรียน. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แสงดาว.

สมาคมนักเรียนเก่าอาหรับ. (2542). พระมหาคัมภีร์อัลกุรอานพร้อมความหมายภาษาไทย. อัลมะดีนะฮฺอัลมุเนาวะเราฮฺ: ศูนย์กษัตริย์ฟาฮัด เพื่อการพิมพ์อัลกุรอาน.

สุมน อมรวิวัฒน์. (2545). รายงานผลการดำเนินงานโครงการนำร่องระดับชาติ เรื่อง การปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ในโรงเรียนนำร่อง: รูปแบบที่คัดสรร. กรุงเทพฯ: เอสดีเคเปเปอร์แอนด์ฟอร์ม.

อับดุรเราะห์มาน อัช-ชีหะฮฺ. (2553). สิทธิของสตรีในฐานะบุตรสาว. แปลโดย อิบนุรอมลี ยูนุส. แหล่งที่มา https://d1.islamhouse.com/.../th_sheehah_huqooq_almaraah_bintan.doc สืบค้นเมื่อวันที่ 11 ตุลาคม 2560

Binkley, M., Erstad, O., Herman, J., Raizen, S., Ripley, M., Miller-Ricci, M., & Rumble, M. (2012). Assessment and teaching of 21st century skills. In P. Griffin, B. McGaw & E. Care (Eds.): Springer.

Blazer, C. (2005). Literature Review on Family Involvement: The Home-School Partnership. Suite: Miami-Dade County Public Schools.

Desforges, C., & Abouchaar, A. (2003). The impact of parental involvement, parental support and family education on pupil achievement and adjustment: a liturature reviews: Queen’s Printer.

Epstein, A. S. (2003). How Planning and Reflection Develop Young Children's Thinking Skills. Young Children, 58(5), 28-36.

Epstein, J. L. (2011). School, family, and community partnerships: Preparing educators and improving schools (2nd ed.). Suite: Westview Press.

Fisher, R. (2001). Philosophy in primary schools: fostering thinking skills and literacy. Reading, 35(2), 67-73.

Grose, M. (2008). Nurture your child’s thinking skills. Retrieved 28 November 2015, from Australia’s leading parenting educator http://holytrinity.act.edu.au/srcfiles/ Thinking-Skills.pdf

Hornby, G. (2011). Parental involvement in childhood education: Building effective school-family partnerships: Springer Science & Business Media.

Hornby, G., & Lafaele, R. (2011). Barriers to parental involvement in education: An explanatory model. Educational Review, 63(1), 37-52.

KidsMatter. (2013). About thinking and learning. Retrieved 29 November 2015 http://www.kidsmatter.edu.au/

Kindon, S., Pain, R., & Kesby, M. (2007). Participatory action research approaches and methods: Connecting people, participation and place. NY: Routledge.

Kocyigita, S. (2015). Family Involvement in Preschool Education: Rationale, Problems and Solutions for the Participants. Educational Sciences: Theory & Practice, 15(1), 1-17.

Miles, M. B., & Huberman, A. M. (1994). Qualitative Data Analysis: an Expanded Sourcebook (2 ed.). Thousand Oaks: Sage Publication.

Nair, S., & Ngang, T. K. (2012). Exploring Parents’ and Teachers’ Views of Primary Pupils’ Thinking Skills and Problem Solving Skills. Creative Education, 3(01), 30.

Niia, A., Almqvist, L., Brunnberg, E., & Granlund, M. (2015). Student participation and parental involvement in relation to academic achievement. Scandinavian Journal of Educational Research, 59(3), 297-315.

Palys, T. (2008). Purposive Sampling. In L. M. Given (Ed.), The Sage encyclopedia of qualitative research methods Sage Publications.

Patrikakou, E. N. (2008). The power of parent involvement: evidence, ideas, and tools for student success. Illinois: Center on Innovation and Improvement.

Pena, D. C. (2000). Parent involvement: Influencing factors and implications. The Journal of Educational Research, 94(1), 42-54.

Redding, S. (1998). Parents and learning: International Academy of Education, UNESCO.

Shenton, A. K. (2004). Strategies for ensuring trustworthiness in qualitative research projects. Education for information, 22(2), 63-75.

Sui-Chu, E. H., & Willms, J. D. (1996). Effects of parental involvement on eighth-grade achievement. Sociology of education, 126-141.

Taneri, P. O. (2012). Roles of parents in enhancing children’s creative thinking skills. International Journal of Human Sciences, 9(2), 90-108.

Wilder, S. (2014). Effects of parental involvement on academic achievement: a meta-synthesis. Educational Review, 66(3), 377-397.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

11-12-2017

How to Cite

อัซซอลีฮีย์ ม., รักษ์พลเมือง ช., บุญประกอบ พ., & ระเด่นอาหมัด น. (2017). การมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการจัดการศึกษาเพื่อส่งเสริมทักษะการคิดและการเรียนรู้ของเด็กมุสลิมในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้. วารสารอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 8(2), 62–82. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/JOIS/article/view/166878